Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวสุวิมล เหี้ยมหาญ 36/2 เลขที่51…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
Low birth weight infant (LBW infant)
ทารกที่มีนำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ในกลุ่มนี อาจแบ่งย่อยเป็น Very low birth weight คือ น าหนักต่ ากว่า 1,500 กรัม และ Extremely low birth weight (ELBW) คือน าหนักต่ ากว่า 1,000 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant)
ทารกที่มีนำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม ประมาณร้อยละ 60 ของทารกที่เสียชีวิตในระยะ 28 วันแรก (Neonatal period) เป็นทารกที่มีนำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
การจำแนกตามอายุครรภ์
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กำหนดเกณฑ์ในการแบ่งทารกแรกเกิดตามอายุครรภ์
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant) คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
เช่น
แท้งคุกคามในไตรมาสแรก
มีเลือดออกไตรมาสที่ 2 หรือ 3
ความดันโลหิตสูง
การติดเชื่อในครรภ์
หัดเยอรมัน
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่นมองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant) คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5 องศา (วัดทางทวารหนัก)
อาการ
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคลำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด ความต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น น้ำหนักไม่ขึ้น ท้องอืด เลือดออกในโพรงสมอง เลือดออกในปอด ไตวาย DIC และ PPHN
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนก าหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม
ทารกครบก าหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
1.ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
2.ป้องกันการสูญเสียความร้องจากร่างกายทารก 4 ทาง
3.ตรวจอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
4.เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
2.ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
อาการและอาการแสดง
มีอาการหายใจลำบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/ นาที มีปีกจมูกบาน หายใจมีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อทรวงอก (retraction) ,หายใจมีเสียง Grunting
อาการเขียว (Cyanosis)
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่ามีภาวะเลือดเป็นกรด
อาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
การป้องกัน
1.มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน าคร่ ายังไม่แตก โดยเฉพาะอายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ควรได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างสารลดแรงตึงผิว และปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้น
Betamethazone 12 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วโมงจนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมงจนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด ซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรดขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดแรงตึงผิว
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก เช่น การให้โดยใช้เครื่องช่วยหายใจหรือCPAP
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจน ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ภาวะปอดอุดกั้นเรื่อรัง (BPD)
ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกำหนด `(ROP)
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
รักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรไลท์ สมดุลกรด ด่างในเลือด
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อร่วมด้วย
3.ปัญหาการติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะลำไส้ทะลุ
4.ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent DuctusAteriosus)
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
เพื่อช่วยยับย้งการสร้างprostaglandin ซึ่งจะทำให้ PDA ปิด
ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
ได้ผลดีในทารกนำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine 1.6มิลลิกรัม/
เดซิลิตรและ BUNมากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ถ้าระดับบิลิรูบินสูงมากอาจจะท้าให้เกิดภาวะ Kernicterrus
ทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตาย
ของเซลล์ประสาท ทำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบิน มากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า และ ความไม่สมบูรณ์ในการทำงานของตับจึงทำให้กระบวนการในการขับบิริลูบินออกยังทำได้ช้า พบในช่วงวันที่ 2 – 4 หลังคลอด หายไปเองใน 1 – 2 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด เกิดได้จากหลายสาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้เพิ่มขึ้น
ทารกดูดนมได้น้อย
ภาวะลำไส้อุดตัน
ตับกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
เช่น G6PD deficiency ABO incompatability, RH incompatability
cephallhematoma, polycythemia,thalassemia
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงจากหมู่เลือดของแม่ลูกไม่เข้ากัน
ที่พบบ่อย ABO
incompatability แม่มีเลือกลุ่ม Oลูกมีเลือดกลุ่ม Aหรือ B
มีความผิดปกติของเอนไซด์ในเม็ดเลือดแดง
เช่น G6PD deficiency
โรคธาลัสซีเมีย
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Breastfeeding jaundice เกิดจากได้รับน้ำนมช้า ไม่เพียงพอ การกำจัดขี เทาช้า ทำให้มีการดูดซึมกลับของบิลิรุบิน
Breastmilk jaundice syndrome พบในทารกอายุ 4-7 วัน สาเหตุที่ชัดเจนยังไม่ทราบแน่นอน
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
น้ำตาลในเลือดต่้าหมายถึงระดับ น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่้า ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด รวมทั้งการสร้างกลูโคส (glucogenesis) เองที่ตับก็ท้าได้น้อย
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
เช่น การขาดออกซิเจนอุณหภูมิกายต่ำทำให้มีการใช้น้ำตาลมาก
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล.
ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
ถ้าน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
ถ้าน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
35-45 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
*10% D/W 2มก/กก.และ/หรือ glucose infusion rate (GIR) 5-8 มก/กก/นาที โดยให้ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในช่วง 40-50 มก./ดล.
การดูแล
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม. หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติ
รีบให้ 5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรก แล้วให้นม
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือสารละลายกลูโคส ถ้ากินไม่ได้ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกโดย ทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 ถึง 15 วินาทีหลังเกิด
อารการ
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
ทารกแรกเกิดมีความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งในข้อที่ กล่าวมาทารกจะได้รับการประเมินว่าไม่ตื่นตัวเรียกว่า non vigorous ทารกที่ไม่ตื่นตัวเมื่อแรกเกิดเสี่ยงต่อการ สูดสำลักขี้เทาและมักต้องการการกู้ชีพโดยเฉพาะการ ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก(positive pressure ventilation; PPV) เพื่อให้มีการหายใจที่เพียงพอต่อการนำออกซิเจน และเลือดไปยังอวัยวะที่สำคัญคือหัวใจ สมอง และต่อม หมวกไต
ความรุนแรงแบ่งได้เป็น3 ระดับ
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมง ทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
1.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
นางสาวสุวิมล เหี้ยมหาญ 36/2 เลขที่51 612001132