Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (พุทธ) - Coggle…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (พุทธ)
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์
สอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา
อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง
ความโลภ
ความโกรธ
ความหลง
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา (Religion) หมายถึง ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสำคัญในศาสนา
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัต
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
ทุกคนจึงมีหน้าที่ต่อกันด้วยการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมของพระพุทธเจ้า
การปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
การบำเพ็ญแต่ความด
การทำจิตให้สะอาดบริสุทธ
ศีล 5
เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ีศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ศาสนาพุทธ
กล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์
กฏของธรรมชาติ
อนิจจัง
ทุกขัง
อนัตตา
อริยสัจ
คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง
ราคะ
โทสะ
โมหะ
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ทุกข์
ความวิตกกังวล
ทุกข์
ภาวะเศรษฐกิจ
ทุกข์
อาการของโรค
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมนั้นมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
ด้านร่างกาย
เมื่อพุทธองค์ประชวรแบบนี้ครั้งก่อนเคยเสวยยาคูปรุงด้วยของสามอย่าง
งา
ข้าวสาร
ถั่วเขียว
ด้านจิตใจ
ด้านจิตวิญญาณ
ด้านสังคม
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ความเครียด
ความอิจฉาริษยา
ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก
การติดเชื้อเอชไอวี
กลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว
อาจเกิดโรคมะเร็งตับ
มะเร็งของท่อน้ำดี
มะเร็งปอด
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสนา
ผู้นำทางด้านจิตใจสำคัญมาก จริง ๆ แล้วไม่มี
ใครช่วยเราได้นอกจากตัวของเราเอง
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม
กรรมนิมิต
คือเครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม
คตินิมิต
หมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กัน
ที่แน่นอนทุกคนต้องตาย
แต่ที่ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไร
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
การประคองรักษาจิตให้สงบ
เป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
การนำพระพุทธรูปที่เขานับถือมาให้บูชา
กล่าวคำอำลา
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
ไม่จำเป็นต้องให้การรักษาใด ๆ ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
เมื่อคนป่วยหนัก
ใกล้ตายยิ่งต้องการประคับประคองใจอย่างมาก