Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ (Drug used in Autonomic Nervous System)…
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
(Drug used in Autonomic Nervous System)
สารสื่อประสาท(neurotransmitter)และตัวรับ (Receptor)ในระบบประสาทอัตโนมัติ
1.สารสื่อประสาทซิมพาเทติก
เรียกว่า Adrenegic agen
Noradrenaline NE
จับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Adrenegic receptor
มีชนิด Alpha และ Beta
2.สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
เรียกว่า cholinergic agens
Acetylcholine (ACh)
จับกับตัวรับโดยเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor
จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
2.Muscarinic receptor
จะแบ่งเป็น
M1 พบที่สมอง
M2 พบที่หัวใจ เกิดการตอบสนองยับยั้ง เช่น หัวใจเต้นช้า ยับยั้งACh ออกจากปลายประสาทซิมพาเทติก
M3 พบตามท่อต่างๆ กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร
เช่นมีการหลั่งของต่อมท่อมากขึ้นทำให้กล้ามเนื้อหดตัว
3.สารสื่อประสาทระบบโซมาติก
หลั่ง ACh ออกฤทธิ์ที่ nicrotimic receptor
ยาที่ออกฤิทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
แบ่งได้เป็น
1.ยาโคลิเนอร์จิค (Cholinergic drugs)
เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
แบ่งออกเป็น2 ประเภท
1.1Cholinergic agonist
จะออกฤทธิ์โดยตรง
ได้แก่ACh และสารสังเคราะห์ Choline ester
ACh จัดเป็นยาต้นแบบของยากลุ่มนี้ไม่สามารถนำมารักษาใช้ได้
เนื่องจากยาถูกทำลายอย่างรวดเร็ว ด้วยAChE จึงเกิดการสังเคราะห์ Choline ester เช่น Carbachol และ Bethanechol
ฤทธฺืทางเภสัชวิทยา
จะคล้ายกับการกระตุ้นระบบปรสาทซิมพาเทติก
มีดังนี้
1.ระบบไหลเวียนเลือด
มีผลโดยตรงทำให้ทำให้ลดการต้านทานส่วนของหลอดเลือด
หลอดเลือดขยายตัว ลดความดันโลหิต
2.ระบบหัวใจ
กล้ามเนื้อหลอดลมหดตัว
3.ระบบทางเดินปัสสาวะ
4.ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มสารคัดหลั่ง
5.ฤทธิ์ต่อตา
ทำให้ม่านตาหรี่
การนำไปใช้ทางคลินิก
1.ใช้รักษาทางเดินปัสสาวะ Bethanechol
ปัสสาวะไม่ออกจากการหัตถการจากการคลอดบุตร
2.ใช้รักษาต้อหิน(glaucome)
ยา pilocarpine มีฤทธิ์กระตุ้นให้ม่านตาหรี่
3.ใช้รักษาอาการท้องอืด
อาการข้างเคียง
อาเจียน มีน้ำมูก น้ำตาไหล เหงื่ออก ปวดปัสสาวะ ปวดมวนท้อง
ข้อห้ามใช้
-ผู้ที่เป็นโรคหอบหืด(Asthma)
-โรคแผลในกระเพาะอาหาร(Peptic ulcer)
-ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ
1.2Anticholinesterase agent
สารที่ออกฤทธิ์ทางอ้อม
ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานเอนไซม์ AChE
ผลทำให้ ACh ไม่ถูกทำลาย จะมีการจับกับ2 แบบคือ
1.การจับกันของเอนไซม์แบบชัวคราว
เรียกว่า reersible ได้แก่
-Endropronium
-neostigmine
-pyriodostigmie
จะมีฤทธิ์สั้น ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้
2.สารที่จับกันแบบถาวร เรียกว่าIrreversible
ซึ่งเป็นพิษต่อร่างกาย
ฤทธฺืทางเภสัชวิทยา
1.มีผลต่อ Muscarinic receptor
ได้เเก่ ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ และต่อมของกระเพาะปัสาสาวะ
2.ผลต่อ nicrotinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อลาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
1.ใช้ในการรักษาลำไส้
2.ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia graiv
3.ใช้ในการรักษา AlZheimer's disease
อาการข้างเคียง
Organophosphate
เมื่อได้รับสารพิษนี้อาจเกิดอาการ รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก
2.ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic drug)
เป็นยากลุ่มที่ปิดกลั้นหรือยับยั้งที่ Cholinegic receptor มีผลต่อ nicotinic
ได้แก่ Atropine
ฤทธฺืทางเภสัชวิทยา
ระบบตา ทำให้ม่านตาขยาย(Mydriasis)
ความดันในลูกตาสูง
2.ระบบทางเดินอาหาร
ลดการบีบตัวของหลอดอาหารจนไปถึงลำไส้ใหย่
3.กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและและความเเรงในการบับตัวของท่อปัสสาวะ
การนำไปใช้ทางคลินิก
1.Antisecretory
ยับยั้งการหลั่งกรด ปัจจุบันไม่ค่อยใช้
2.ใช้เป็น Antispasmodics
ยาลดกรดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
3.ใช้รักาาภาวะกระเพาะปัสสสาสวับีบตัวมากเกิินไป
4.ใช้ทางจักษุเเพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย
5.ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
6.ใช้เป็นยาผู้ป่วยก่อนผ่าตัด(Anesthetic premedication )
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
อาการที่พบ อาจปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว ใจสั่น ร้อนวูบวายบ
3.ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก(Adrenergic drug)
เป็นสารกระตุ้นให้เกิดการกระตุุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
จะมีกลไกการออกฤทธิ์ 3 แบบ
1.Directiy acting
2.Indirecyiy acting drug
3.mixed-acting drugs
ยากลุ่ม sympathomimetics
จะมี 4 กลุ่ม
1.กลุ่ม Catechomimetics
*ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1.ระบบไหลเวียนเลือด
กระตุ้นให้กล้สามเนื้อเรียบของหลอดเลือดใต้หดตัว
2.ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ กระตุ้นผ่าน Beta 2
ทำให้หลอดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลายขยายตัว
*3.กระตุ้นเพิ่มอัตรการเต้นเเละเเรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ
ยากลุ่ม Catechomimetics
ได้แก่
1.1 epinephrine(Adrenaline)
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสารที่ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง Beta1และ 2 , Alpha1 และ 2
เภสัชทางวิทยา
1.ระบบไหลเวียนโลหิค
มีฤทธิ์เเรงในการบีบหลอดเลือดเเละหัวใจ
2.ระบบทางเดินอาหาร
มีผลทำให้กล้ามเนื้อเรียบทางเดินอาหารคลายตัว
3.ระบบหายใจ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจคลายตัว หลอดลมขยายตัว
การนำไปใช้ทางคลินิก
1.ภาวะหัวใจหยุดเต้น(Cardiac arrest)
2.ภาวะแอนาฟิเเลกซิส(Anaphylaxis)
3.ใช้เพื่อห้ามเลือด(Topical hemostasis)
4.ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
1.2.ยากลุ่ม Norepinephrine/ norradranaline
โดยการกระตุ้น ที่ Alpha1 และ beta 1 receoptor
แต่มีความชอบที่ Alpha receptor สูงกว่า
เพิ่มการต้านทานของหลอดเลือด
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและเพิ่ม Cardiac output
ประโยชน์ทางคลินิก
รักาาความดันโลหิตต่ำอย่างรุนเเรง
1.3 Dopamine;DA
จะให้ยาต่างชนิดกัน
1.DA ต่ำ
ทำให้เกิด vasodilation ของหลอดเลือดในไต และหลิดเลือดในหัวใจ coronary เพิ่การขับโซเดียมทางปัสสาวะ
2.DA ขนาดปานกลาง
จะกระตุ้น Beta 1 เพิ่มเเรงบีบตัวของหัวใจ เพิ่มอัตราการเต้นหัวใจเล็กน้อย
3.DA ขนาดสูง
กระตุ้น Alpha1 ทำให้หลอดเลือดหดตัว
เพิ่มความดันโลหิต
1.4 Dobutamine
มีโครงสร้างคล้ายกับ DA ออกฤทธิ์กระตุ้น
Beta1 ฤทธิ์ต่อ Alpha receptor
มีฤทธิ์โดยรวมทำให้หลอดเลือดขยายตัวจึงไม่ใช่ยาเพิ่มความดันโลหิต
อาการข้างเคียง
1.ระบบประสาท
วิตกกังวล ปวดศรีษะ
2.ระบบไหลเวียน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดบวมน้ำ
3.Tissue necrosis
ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปเนื้อเยื่อรอบๆ อาจทำเนื้อเยื่อตายได้
2.Alpha-adrenergic agonist
2.1Alapha-1 agonist
มีฤทธิ์เฉพาะเจาะจง ที่ Alpha1 - adrenegic receptor ได้แก่
2.1.1 Phenylephrin
ทำให้เกิดกล้ามเนื้อเรียบหดตัว ใช้เป็นยากบรรเทาอาการคัดจมูก
2.1.2 Midodrine
ทำให้หลอดเลือดหดตัว ส่งผลความดันโลหิตเพิ่ม
2.2 Alpha-2 agonist
ออกฤทธิ์กระตุ้น Alpha 2- receptor
สมารถใช้เป็นยาลดความดันโลหิตได้
ประโยชน์ทางคลินิก
เป็นยาที่เลือกใช้ในสตรีที่มีการตั้งครรภ์ รักษาอาการขาดเหล้า
3. Beta-aderengic agonist
ยากลุ่มนี้ใช้เป็นยากลุ่มขยายหลอดลมใช้สำหรับแก้อาการหลอดลมตีบแคบ มักใช้ในโรคหอบหืด โรค COPD
3.1 Beta 2 adrenegic agonist
1.ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
ใช้รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน (Acute bronchospasm)
2.ยาขยายหลอดลมออกฟทธิ์ชนิดยาว
ได้แก่ Salmeterol และ formoterol
อาการข้างเคียง
ใจสั่น อาการกระวนกระวาย วิตกกังวล หัวใจเต้นเร็ว
3.2 Beta 3 adrenegic agonist
มีผลทำให้กล้ามเนื้อปัสสาวะคลายตัว
4. Indirect- acting and mixed-type adrenegic agonist
4.1 Ephedrine และ pseudoephedrine
Ephedrine ไม่ได้ใช้ทางคลินิกเเล้ว ส่วน pseudoephedrine ใช้เป็นยาออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
4.2 Amphetarmine
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางที่มีความเเรงสูง
4.ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์ (Adrenoceptor bloking drugs)
เเบ่งยาออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.Alpha-adrenegic antagonisti
ได้แก่
-Prazosin , Doxazosin
ยาที่มีใช้ในปัจจุบัน คือ selective alpha1-antagonist ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ alpha1- receptor
ที่หัวใจและต่อมลูกหมากคลายตัว
อาการข้างเคียง
มีความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนอิริยบท
2.Beta- adrenegic antagonisti
2.1Non- selective Beta -blocker
ได้แก่
Propranolol
ยับยั้งทั้ง Beta1และ 2 ถูกดูดซึมได้ดีมาก
ใช้รักษาความดันโลหิตสูงใช้ร่วมกับยาขับถ่ายปัสสาวะ
ลดอาการใจสั่น และมือสั่น (hyperthyroidism)
2.2 Selective Beta -blockerได้แก่ Atenolol, Metoprolol
Atenolol, Metoprolol
ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง เป็นยาสำคัญที่ใช้สำหรับเพื่อลด
ความเสี่ยงของหัวใจล้มเหลว
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ประกอบด้วย 2 อย่าง
1.ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system)
ทำงานเพื่อต่อสู้หรือหลีกหนี เพิ่มการใช้พลังาน หัวใจเต้นเร็ว
2.ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasmypathetic
nervous system) )
เปรียบเทียบเหมือนการชะลอ เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร