Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลผู้ป่วย - Coggle Diagram
ข้อมูลผู้ป่วย
Bileteral suboccipital craniectomy with duraplasty
(โรคสมองน้อยขาดเลือดและน้ำคั่งในโพรงสมองจากการอุดตัน)
พยาธิสภาพ
Ischemic Stroke
เกิดจากอุดตันของหลอดเลือดจนท้าให้เลือดไปเลี้ยง สมองไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่มักเกิดร่วมกับภาวะหลอด เลือดแดงแข็ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากไขมันที่เกาะตามผนัง หลอดเลือดจนท้าให้เกิดเส้นเลือดตีบแข็ง
แบ่งออกได้ 2 ชนิดย่อย
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke)
เป็นการอุดตันในหลอด เลือด ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของผนังหลอดเลือดที่ ท้าให้มีการหนาตัวจนท้าให้เลือดไปเลี้ยงในเนื้อสมอง ส่วนนั้นๆ ไม่เพียงพอหรือขาดเลือดไป เป็นผลมาจาก หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) เกิดจาก ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน นอกจากนี้ ยังเกิดจากผนังหลอดเลือดฉีกขาด หลอด เลือดอักเสบจากโรคติดเชื้อ หรือจากโรคเกี่ยวกับ autoimmune เมื่อผนังหลอดเลือดมีความผิดปกติ จากสาเหตุดังกล่าวจะท้าให้มีการหลั่งปัจจัยต่างๆ ที่ ท้าให้เกิดการแข็งตัวของเกล็ดเลือดและ fibrin ท้าให้ หลอดเลือดอุดตัน นอกจากนั้นโรคทางโลหิตวิทยาที่ ท้าให้เลือดมีความหนืดและไหลเวียนได้ช้าจะท้าให้เกิด เป็นลิ่มเลือดอุดตันได้เช่นกัน
เปรียบเทียบของผู้ป่วย
-จากโรคความดันโลหิตสูงและ โรคเบาหวาน โดยภาวะหลอดเลือดแข็งตัว จะทําให้รูของหลอดเลือดแดงในสมองมีขนาดเล็กลง จนเลือดไม่สามารถ ไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอ การอุดตันของหลอดเลือด (Ische- mic stroke)
-จากการที่ไขมันในเลือดสูง ไขมันจึงไปเกาะผนังหลอดเลือด ทําให้ผนัง หลอดเลือดหนาตัวรูหลอดเลือดตีบแคบและอุดตัน หรือมีลิ่มเลือดอุดตัน เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง แรงดันออกซิเจนในสมองลดลง แรงดัน คาร์บอนไดออกไซด์ในสมองเพิ่มขึ้น เกิดกรดแลคติก สมองและเซลล์ประสาทขาดเลือดไปเลี้ยงและตาย
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากการอุดตัน (Embolic Stroke)
เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดจนท้าให้ เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปที่สมองได้อย่างเพียงพอ
Artery to Artery Embolism
เกิดจากความ ผิดปกติของผนังหลอดเลือด ท้าให้มีลิ่มเลือดทั้งที่ ส่วนประกอบเป็นเกล็ดเลือด หรือเป็นลิ่มเลือด หรือ เป็นส่วนประกอบอื่น เช่น cholesterol crystal ซึ่ง อาจหลุดไปอุดหลอดเลือดในต้าแหน่งที่ไกลออกไป
-
Emboli ชนิดอื่นๆเช่นparadoxical emboli จาก deep vein thrombosis, tumor emboli จาก มาจากมะเร็งปอด,fat embolism จากการได้รับ อุบัติเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง
- อายุ
- เพศ
- ชาติพันธุ์
- พันธุกรรม
- ภาวะความดันเลือดสูง
- Atrial fibrillation
- โรคหลอดเลือดหัวใจ
- ความผิดปกติของหลอดเลือด carotid
- การสูบบุหรี่
- เบาหวาน
- ไขมันในเลือดสูง
- เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมองมาก่อน
- โรคอ้วน
- ขาดการออกก้าลังกาย
- ดื่มสุรา
ผู้ป่วยอายุ 61 ปี มีโรคประจำตัวเป็น
- โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
- โรคเบาหวานชนิดที่2 (Diabetes Mellitus)
- โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
พยาธิสรีรวิทยา
- สมองได้เลือดไปเลี้ยงประมาณ 55 มิลลิลิตร/100 กรัม ของเนื้อเยื่อสมอง/นาที ถ้าเลือดไปเลี้ยงสมอง ลดลงต่้ากว่า 30-35 มิลลิลิตร/100 กรัม ของเนื้อเยื่อ สมอง/นาที จะเกิดการขาดเลือด (ischemia) ซึ่งเมื่อ สมองขาดเลือด เซลล์จะเปลี่ยนจากกระบวนการใช้ ออกซิเจน ท้าให้เกิด lactic acid เป็นสาเหตุให้เสีย สมดุลกรด ด่าง เมื่อเซลล์ไม่สามารถผลิตพลังงานได้ จึงเกิดการเสียสมดุลอิเล็กโทรไลต์ และท้าให้หน้าที่ ของเซลล์เมมเบรนสูญเสียไป มีการเกิดอนุมูลอิสระ เซลล์บวม และแตก เกิดการตายของเซลล์
- การเกิดเนื้อตาย จะพบเป็น 2 ลักษณะ คือ penumbra อยู่รอบนอกของเนื้อตาย มีลักษณะเป็น เนื้อสีเทา เป็นส่วนที่มีเลือดมาเลี้ยงลดลง อาจมีเพียง 10-18 ml/100gm/min (ค่าปกติ 60 ml/100gm/min) เช่นในกรณีที่ตกเลือดความดัน โลหิตต่้า ท้าให้เนื้อเยื่อเป็นสีเทาจากเลือดไปเลี้ยง ลดลง ระยะนี้จัดเป็น reversible เนื้อสมองสามารถ ฟื้นคืนได้ถ้ามีเลือดไปเลี้ยง ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ จะกลายเป็นระยะที่ 2 คือ infarction core เป็นเนื้อ ตายที่เกิดเมื่อมีเลือดมาเลี้ยงเพียง 10ml/100gm/min จนถึงระยะ infarct พบว่าเกิด สมองบวมแบบ cytotoxic edema จัดเป็น irreversible เนื้อสมองไม่สามารถฟื้นคืนสู่สภาพเดิม ได้
เกิด infarction ที่สมองส่วน cerebellum ทั้งสอง ด้าน, cerebellar peduncle ด้านซ้าย และ vermis
อาการ
อาการทั่วไป
- สมองบวม
- ขาดการรับรู้สติ สับสน
- ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
- ชัก
- ชาที่บริเวณ หน้า ขา แขน ข้างใดข้างหนึ่งอย่าง เฉียบพลัน
- การมองเห็นผิดปกติ แปลภาพไม่ชัด
- มีปัญหาการทรงตัว การประสานการท้างานของ กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเกร็ง
- อ่อนแรง สูญเสียการเคลื่อนไหว แขนขาซีกใดซีก หนึ่ง
- เวียนศีรษะฉับพลัน ปวดศีรษะรุนแรง
- ปากเบี้ยว ลิ้นแข็ง ควบคุมลิ้นไม่ได้
- ซึมเศร้า บุคลิกภาพเปลี่ยน ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
- พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด ไม่เข้าใจภาษา
- ควบคุมการขับถ่ายไม่ไ่ด้
- สูญเสียความรู้สึกทางประสาทสัมผัส
- หมดสติ
อาการของผู้ป่วย
- สมองบวม
- ขาดการรับรู้สติ
- ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
- สูญเสียการเคลื่อนไหวทั้งแขนและขา
- ตามองไม่เห็นทั้งสองข้าง
- อ่อนแรง
- เวียนศีรษะเฉียบพลัน
- ปวดศีรษะรุนแรง ปากเบี้ยว
- คลื่นไส้ อาเจียน
อาการของรอยโรคที่ cerebellum
ขาดการรับรู้ และการเคลื่อนไหวทั้งแขนและขาตา มองไม่เห็นทั้ง 2 ข้าง พูดลำบาก ความจำเสื่อม ตา กระตุก
อาการของรอยโรคของผู้ป่วย
ผู้ป่วยความรู้สึกตัวลดลง แขนขาเคลื่อนไหวไม่ได้ ตามองไม่เห็นทั้ง 2 ข้าง ปากเบี้ยว คลื่นไส้ อาเจียน Glassglow Coma Score E1M1VT Pupil 3mm. both eye Fixed
Motor power แขนทั้งสองข้าง grade 0 ขาขวา
grade 1 ขาซ้าย grade0
การวินิจฉัย
- ซักประวัติ อาการส้าคัญที่มาโรงพยาบาล ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน วัน เวลาที่เกิดอาการ ลักษณะของ อาการที่เกิด มีอาการน้ามาก่อนหรือไม่ เช่น ปวด ศีรษะเดินเซ สมองเสื่อม ปัญหาการทรงตัว การพูด ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต โรคประจ้าตัว ประวัติการ เกิดอุบัติเหตุ ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
- ตรวจร่างกาย ประเมินความรู้สึกตัว ประเมิน neurological sign
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือด CBC, Blood sugar, Electrolyte, Cholesterol, Triglyceride, HDL ,LDL, BUN, Cr การตรวจ ปัสสาวะ UA
- Brain imaging CT brain non-contrast วินิจฉัย ภาวะเลือดออกCT brain with contrast ช่วย วินิจฉัยแยกภาวะอื่นๆ MRI ให้รายละเอียดของความ ผิดปกติได้มากขึ้น มองเห็นรอยโรคชัดขึ้น
- 5 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการเวียนศีรษะ อาเจียน หูอื้อ ถ่ายเหลว 2-3 ครั้ง มีอาการเวียน ศีรษะมากขึ้น พบแพทย์และ admit ที่โรงพยาบาล ศรีสวรรค์ แรกรับ E4M6V5
- 12 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเวียน ศีรษะมากขึ้น ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด
อ่อนแรงซีกซ้าย
- มีโรคประจาตัวเป็นโรคเบาหวานชนิดที่2 (Diabetes Mellitus) โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
- Neuro sign GCS E1M1VT Pupil 3mm both eye fixed
- ทำCT brain non contrast (15 มิถุนายน 2563) No intracranial hemorrhage or extra-axial hemorrhage identified. Suspected acute to subacute infarction at right cerebellum and right cerebellar peduncle. Mild brain atrophy. Suspected partially empty sella.
- ทำMRI Brain (15 มิถุนายน 2563) High SI in DWI at bilateral cerebellum, left cerebellar peduncle and vermis are seen, more than at right side, suggested acute cerebral infarctions.
การรักษา
- การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytic therapy)
ได้แก่ Recombinant tissue Plasminogen Activator (r-tPA) ฉีดเข้าทางหลอดเลือดด้าภายใน 3-4.5 ชั่วโมงหลังมีการอุดกั้นของเลือด ใช้เพื่อละลาย ลิ่มเลือดที่อุดตันอยู่ ซึ่งจะทำให้เลือดไหลเวียนได้ สะดวกมากขึ้น ยิ่งขึ้น
- การให้ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelets) เป็นยาที่ช่วยป้องกันการก่อตัวของเกล็ดเลือด ท้าให้ การอุดตันลดลง ยาในกลุ่มนี้ที่นิยมใช้ได้แก่ aspirin ใช้ ในกรณีที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในระยะเวลาที่เกิน 4.5 ชั่วโมง และให้เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำของโรค หลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดในระยะยาว
- การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulant)
ได้แก่ heparin ใช้ในผู้ที่มีอัตราการเต้นของหัวใจที่ ผิดปกติเพื่อป้องกันการเกิดการกลับเป็นซ้ำในระยะยาว
- ผู้ป่วยได้รับยา ASA 1 tab
- ผู้ป่วยได้รับยาHeparin 1000U for flush central line + NSS 100ml tid
Hydrocephalus (สมองบวมน้ำ)
เป็นภาวะที่มีน้ำในสมองซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการ สร้างน้ำไขสันหลังมากเกินไป หรือมีการอุดตัน ทางเดินของน้ำไขสันหลังภายใน ventricles หรือ subarachnoid เช่นสาเหตุโดยกำเนิดมีการอุดตัน ของทางเดินน้ำไขสันหลัง การอักเสบติดเชื้อ ได้รับ บาดเจ็บ มีหลอดเลือดผิดปกติ เกิด choroid plexus papilloma ท้าให้มีการสร้างน้ำไขสันหลังมากขึ้น หรือเกิดจากการดูดซึมน้ำไขสันหลังลดลง การติดเชื้อ ที่หู หรือมีเนื้องอก
สาเหตุ
- ความผิดปกติแต่กำเนิด
-พันธุกรรม
-การติดเชื้อภายในมดลูกระหว่างตั้งครรภ์
-มีเลือดออกในสมองระหว่างการคลอด
-มีเลือดออกในสมองจากสาเหตุคลอดก่อนกำหนด
- สมองโตภายหลังจากมีเลือดออกในสมอง
-มีเลือดออกในโพรงสมองหรือใน medulla
-มีเลือดออกในชั้น subarachnoid จากการบาดเจ็บ หรือความผิดปกติในหลอดเลือด
- โพรงสมองโตภายหลังการติดเชื้อมีการติดเชื้อที่ เยื่อหุ้มสมองและท้าให้ชั้น arachnoid อักเสบ
- มีก้อนในสมอง จากเนื้องอก หรือความผิดปกติใน หลอดเลือด
เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือด เกิด Atherosclerosis ที่เส้นเลือด Anterior Inferior Cerebellar Artery และPosterior Inferior Cerebellar Artery ทำให้เกิด infarction ที่ cerebellum ซึ่งอยู่ใกล้กับ 4th ventricle เซลล์ที่ ตายในบริเวณcerebellar infarction เกิดการ บวมและไปเบียด 4th ventricle ซึ่งเป็น pathway ของ CSF ทำให้เกิดการคั่งของ CSF
การแบ่งชนิด (Classification)
- แบ่งตามการอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองไขสันหลัง
-Obstructive hydrocephalus การอุดตันโพรงสมอง
-Communicating hydrocephalus การอุดตัน นอกโพรงสมอง การสร้างหรือการดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลังผิดปกติ
- แบ่งตามอายุ
-ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมองในเด็ก(Children hydrocephalus, Congenital disease)
-ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมองในผู้ใหญ่(Adult hydrocephalus, Acquired disease)
- แบ่งตามความดันน้ำในโพรงสมองและไขสันหลัง
-High pressure hydrocephalus
-Normal pressure hydrocephalus (NPH)
- แบ่งตามพยาธิสรีรวิทยากลไกการเกิด
-การสร้างน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Increase CSF secretion)
-การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (CSF pathway obstruction)
-การดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง (Decreaed CSF absorption)
Obstructive hydrocephalus
การอุดตันโพรงสมอง เกิดจากเซลล์ที่ตายในบริเวณ cerebellar infarction เกิดการบวมและไปเบียด 4th ventricle ซึ่งเป็น pathway ของ CSF ทำให้เกิด การคั่งของน้ำ CSF
-
การวินิจฉัย
- X-ray
- CT scan
- Lumbar puncture
การรักษา
- ยาขับปัสสาวะ
- ผ่าตัดใส่ shunt เพื่อระบายน้ำไขสันหลังจาก ventricle
ลงสู่ช่องท้อง
การรักษาของผู้ป่วย
การผ่าตัด Right Frontal External Ventricular Drainage (การใส่สายระบายน้ำไขสันหลังจาก โพรงสมองที่สมองส่วนหน้าด้านขวา)
ก้านสมอง(Brain stem)
มีหน้าที่สำคัญคือ เป็นทางผ่านของวิถีประสาทขาขึ้นและขาลงที่ติดต่อระหว่าง spinal cord และส่วนต่างๆของสมอง เป็นศูนย์กลาง reflex center ที่ควบคุมระบบหายใจและหัวใจตลอดจนระดับสติสัมปชัญญะ ดังนี้
Cerebellum
ทำหน้าที่ประสานการเคลื่อนไหวของร่างกายให้ราบรื่น เที่ยงตรง สามารถทำงานที่ละเอียดอ่อน และควบคุมการทรงตัวของร่างกาย
Medulla oblongata
หรือ เรียกง่ายๆ ว่า medulla เป็นส่วนที่อยู่ระหว่างไขสันหลัง (spinal cord) และ pons ก้านสมองส่วน medulla มีความสัมพันธ์กับ nuclei ของ cranial nerve คู่ที่ 8 (vestibulo-cochlear nerve)อยู่ในหูชั้นในทำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว การได้ยิน, คู่ที่ 9 (glossopharyngeal nerve) รับรส ควบคุมกล้ามเนื้อที่ใช้ในการกลืน, คู่ที่ 10 (vagus nerve)รับรสอาหารจากตุ่มรับรสใน epiglottis ควบคุมอวัยวะภายใน, คู่ที่ 11 (spinal accessory nerve)ควบคุมกล้ามเนื้อ trapezius กับ sternocleidomastoid และ คู่ที่ 12 (hypoglossal nerve)ควบคุมกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวของลิ้น นอกจากนี้ medulla ยังมีศูนย์ที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว การได้ยิน การกลืน การหายใจ การอาเจียน และการไหลเวียนโลหิตด้วย
PON
ควบคุมการเคลื่อนไหวของใบหน้า ศูนย์การเคี้ยว การเคลื่อนไหวของตา การแสดงสีหน้า การกระพริบตา การทรงตัว และการได้ยิน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3 เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดเปิดกระโหลกcraniectomy บริเวณoccipitalและมีการสอดใส่สายระบายต่างๆในร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
-
- ประเมินการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดโดย การวัดสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิทุก 2 ชั่วโมง ถ้าอุณหภูมิ 38 °C ให้เช็ดตัวลดไข้
- สังเกตลักษณะของแผลว่า บวม แดง ร้อน มี discharge ซึม มีกลิ่นเหม็นหรือไม่
- ดูแลการทำงานของ radivac drain
- ดูแลให้อยู่ในระบบสุญญากาศ
- ทำแผล dry dressing ทุกวัน
- ระวังไม่ให้สายหักพับงอเลื่อนหลุดหรือสายพันกันและแขวนขวดให้ต่ำกว่าระดับเอว
- บันทึกปริมาณ drain ทุกวัน สังเกตลักษณะ exudate ที่ออกมา
- ดูแลการทำงานของ External Ventricular Drainage (EVD)
- จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
- การกำหนดตำแหน่งการวาง EVD ให้ถูกต้องโดยตั้งตำแหน่งระดับจุดหยดอยู่เหนือรูหู 20 cm ตามแผนการรักษาของแพทย์ ตั้งระดับความดันที่ 8 cm
- milking สายเพื่อป้องกันการอุดตัน ทำด้วยความระมัดระวัง ถ้าพบว่าสายระบาย EVD อุดตันให้รีบรายงานแพทย์
- ก่อนปรับเปลี่ยนท่าผู้ป่วยเคลื่อนย้ายหรือปลดถุงรองรับต่ำกว่าปกติควร clamp สายก่อน ทุกครั้งเพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับของ CSF
- ดูแลให้ EVD ให้เป็นระบบปิด
- บันทึกและสังเกตลักษณะสี ความขุ่นใส และความเข้มของ CSF ทุกเวร
- วัดสัญญาณชีพและอาการทางระบบประสาท ทุก 2 ชั่วโมง หากพบความผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทราบทันที
- ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกว่ามีการระบายน้ำไขสันหลังมากหรือน้อยเกินไปได้แก่ เหงื่อออก ตัวเย็น ง่วงหลับ หัวใจเต้นเร็ว ปวดศีรษะ อาเจียน ตาพร่ามัว ความรู้สึกเปลี่ยนแปลง หากพบ อาการดังกล่าวให้รายงานแพทย์ทันที
- การดูแลแผล jugular แบบ triple lumen
5.1 การปิดแผลบริเวณตำแหน่งที่คาสายสวน
- ใช้ผ้ากอซปราศจากเชื้อปิดแผลบริเวณตำแหน่งที่คาสายสวน
- เปลี่ยนผ้าปิดแผลทันทีเมื่อเปียกชื้น ร่อนหลุด หรือเห็นว่าสกปรก
- ระวังอย่าให้ส่วนใดของสายสวนหลอดเลือดเปียกน้ำขณะเช็ดตัวหรืออาบน้ำผู้ป่วย
- ประเมินแผลบริเวณรอบๆที่คาสายสวนหลอดเลือดทุกเวรและทุกครั้งขณะที่ เปลี่ยนผ้า ปิดแผล หรือใช้มือกดเบาๆบริเวณรอบสายสวน หากผู้ป่วยมีอาการกดเจ็บ มีไข้ มีอาการและอาการ แสดงของ การติดเชื้อเฉพาะที่หรือการติดเชื้อในกระแสโลหิต ควรเปิดผ้าปิดแผลออกเพื่อตรวจบริเวณรอบสายสวน
5.2 การป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย Central line
5.3 flush สายด้วย Heparin 1000 unit +NSS 100 ml
- การดูแลแผล Arterial line บริเวณ ขาด้านซ้าย
6.1 ตรวจสอบตำแหน่งของ Arterial line ว่าอยู่ตำแหน่งที่เหมาะสมมีอาการ ปวด บวม แดง ร้อนหรือไม่
6.2 ตรวจดูลักษณะของ Arterial wave form บนจอ Monitor ที่ถูกต้องทดสอบโดยดูดเลือดและฉีดล้างสายด้วย NSS + heparin
6.3 ดูแลให้เป็นระบบปิด (Closed system) อยู่ตลอดเวลา
6.4 ระวังไม่ให้มีการหัก พับ งอ รั่วหลุดหรือมีลิ่มเลือดในระบบ
6.5 เฝ้าระวังและประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สาย Arterial line ดังนี้คือ ภาวะ เลือดออก (Bleeding), Embolism, Thrombosis, Infection, Lim ischemia
6.6 ดูแลทำแผลและเปลี่ยนพลาสเตอร์บริเวณที่ใส่ Arterial line ทุกวันโดยใช้หลัก Aseptic technique
6.7 ในการดูดเลือดทาง Arterial line เพื่อส่งตรวจต้องยึดหลัก Aseptic technique ใช้ส้าลี ชุบน้ำยา 2% chlorhexidine 70% Alcohol เช็ดทำความสะอาดบริเวณข้อต่อก่อนและหลังการดูดเลือดทุกครั้ง
6.8 เปลี่ยนสาย Pressure monitoring set, Pressure tubing, Three way และชุดให้ สารน้ำทุก 3 วัน หรือตามความเหมาะสม
6.9 ประเมินความจำเป็นในการคาสายArterial line พิจารณาถอดออกเมื่อหมดความ จำเป็นเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- การดูแล ET-tube
7.1 ตรวจสอบEndotracheal Tube ให้อยู่ตำแหน่ง 21 เซนติเมตร และcuff pressure30 cmH2O
7.2 ทำความสะอาดช่องปากโดยใช้ Dobell solution 180 ml หลังอาหารเช้าเย็น
7.3 ดูดเสมหะด้วย sterile technique
7.4 สังเกตการณ์ทำงานของเครื่องช่วยหายใจ หากในสายและในกระบอกมีน้ำค้างให้เทน้ำออก สังเกตดู humidifier ไม่ให้มีอุณหภูมิที่สูงเกินไป
7.5 ดูแลผู้ป่วย on ventilator P-CMV mode FiO2 0.4 PEEP 3 RR 16 bpm Pressurecontrol 18 cmH2O Pressure Trigger Sensivity 2 cmH2O
7.6 ดูแลไม่ให้ข้อต่อสายventilator หัก พับ งอ
- การดูแลผู้ป่วย on NG-Tube
8.1 ดูแลบริเวณจมูกและช่องปากเช็ดจมูกด้วยน้ำเกลือทุกวัน ทำความสะอาดปากและฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง โดยการบ้วนปาก ใช้ส้าลีผ้าชุบน้ำ เช็ดให้สะอาด เปลี่ยนต้าแหน่งพลาสเตอร์เพื่อ ป้องกันแผลกดทับ และหมั่นส้ารวจผิวหนังรอบๆ รูจมูกบ่อยๆว่ามีบาดแผลหรือไม่
- ควรปิดจุกสายยางให้แน่น เพื่อป้องกันอาหารจากกระเพาะอาหารไหลย้อนออกมา และ ภายหลังการให้อาหารควรเช็ดคราบอาหารที่ปลายจุกด้วยผ้าสะอาด
- ตรวจเช็คตำแหน่งของสายให้อยู่ตำแหน่งเดิมทุกครั้ง ก่อนเริ่มให้อาหาร ควรดูพลาสเตอร์ ที่ติดสายยางกับจมูกควรให้ติดแน่น ระวังสายเลื่อนหรือหลุดออก
- การดูแล Foley’s catheter
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา antibiotic Fo
- ไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายอยู่ในช่วง 36.5-37.4°C
- บริเวณแผลไม่มี discharge ซึม
- ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ (5,000-10,000 cells/uL)
-Neutrophil 48.1-71.2%
-Lymphocyte 21.1-42.7%
-Monocyte 3.3-10.2 %
-Eosinophil 0.4-7.2%
-Basophil 0.1-1.2%
- การทำงานของ EVD, radivac drain, NG-Tube, ET-tube, jugular แบบ triple lumen,Foley’s catheter, Arterial line มีประสิทธิภาพ
-
-
-
-
-
-
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- Neutrophil 90.3%
- Lymphocyte5.1%
- Eosinophil 0.0%
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ข้อยึดติด เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผล
- ผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับหรือข้อยึดติด
- Glasgow coma scale E1M1Vt - Motor power แขนทั้งสองข้าง grade 0 ขาทั้งสองข้างgrade 0
- Barden score 8 คะแนน
- ประเมินลักษณะของผิวหนังโดยสังเกตว่ามีรอยแดง รอยถลอก มีแผลหรือมีการลอกหลุดของ ผิวหนังหรือไม่โดยเฉพาะผิวหนังบริเวณปุ่มกระดูกต่างๆ
- ดูแลจัดท่าผู้ป่วย พลิกตะแคงตัวทุกๆ 2 ชั่วโมงอย่างนุ่มนวล ดูแลผ้าปูที่นอนสะอาด ป้องกันการอับชื้น ปูให้เรียบตึงไม่ควรให้ผิวหนังผู้ป่วยถูเสียดสีกับที่นอนและใช้ผ้ารองตัวในการยกตัวผู้ป่วย นำหมอนหรือผ้ามารองบริเวณที่มีปุ่มกระดูก หลีกเลี่ยงการลากตึง ซึ่งเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บจากแรงเสียดสี
- ดูแลผิวหนังให้แห้ง สะอาด ไม่อับชื้นอยู่เสมอ เรื่องการขับถ่ายไม่ให้ผู้ป่วยนอนแช่อุจจาระ ปัสสาวะ และทำความสะอาดเป็นประจำทุกวัน ซับให้แห้ง หากผู้ป่วยมีผิวหนังแห้ง ไม่ชุ่มชื้น ทาโลชั่น วาสลีน ครีมทาผิว เพื่อให้ผิวหนังชุ่มชื้น ป้องกันการเสียดสี
- เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง กระตุ้นให้ช่วยผู้ป่วยออกกำลังกายบนเตียง ในอวัยวะส่วนที่ไม่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว เพื่อให้มีการเคลื่อนไหวไม่เกิดการกดทับอยู่ตลอดเวลา
- ติดป้ายสัญลักษณ์ที่เตียงเพื่อแสดงว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม
- จัดเตียงให้ผู้ป่วยอยู่ในตำแหน่งที่มองเห็นง่ายจาก nurse station เพื่อการดูแลอย่างใกล้ชิด
- บันทึกกิจกรรมทางการพยาบาล และกิจกรรมที่ป้องกัรการพลัดตกหกล้มในบันทึกทางการพยาบาล (nurse note)
- ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ แผลกดทับ ข้อยึดติด
- Barden score >16
-
- Glasgow coma scale E1M1Vt
- Motor power แขนทั้งสองข้าง grade 0 ขาทั้งสองข้างgrade 0
- Barden score 8 คะแนน คือ มีความเสี่ยงสูงมาก
- ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
-
-
-
Medicine
- Dexamethasone4mg Inj.1ml IVq12hrx1day ยารักษาภาวะbrain edema จาก head injury
- ASA 81 mg 1 tab oral stat
ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด
- Levophed4mg +5%D/W100mlveindrip 3ml/hr ยาเพิ่มความดันโลหิต
- Dopamine 20 ml/hr
ยาเพิ่มความดันโลหิต
- Levetiracetam 500 mg tab 1x2 oral pc
ยาป้องกันการชัก
- Fosfomycin4gmINJครั้งละ2gIVq12hr
ยารักษาการติดเชื้อ
- Tasigna 150 mg 2 tab 1x2 oral p.c.
ยารักษาโรคมะเร็ง
- Omeprazole 20 mg 1x2 oral pc
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
-
-
-
-
การผ่าตัด
Right Frontal External Ventricular Drainage with Bilateral Sub occipital Craniectomy with duraplasty
(การใส่สายระบายน้ำไขสันหลังจากโพรงสมองที่สมองส่วนหน้าด้านขวาและการเปิดกะโหลกศีรษะบริเวณใต้ท้ายทอย และซ่อมแซมเยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา)
-
General appearance
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 61 ปี ไม่ลืมตา Glasgow Coma Score E1M1VT both eye Pupil 3 mm. Fixed Motor power แขนทั้งสองข้าง grade 0 ขาทั้งสองข้าง grade 0 มีแผล on radivac drain at occipital 1 เส้น สลาย Vacuam แล้ว มี discharge ซึม on EVD (external ventricular drain ) at Rt. Frontal 8 cm.จาก skin ถึงจุด mask ที่ระดับเหนือรูหู 20 เซนติเมตร 1เส้น CSF ปน bleed ปริมาณ 20 ml. ภายในจมูกไม่บวมแดง on NG Tube no.14 NPO on ventilator via Endotracheal Tube no.7 mark 21 P-CMV mode PEEP 3 FiO2 0.4 RR 16 PC 18 หายใจตามเครื่องได้ on central line ชนิด tripple lumen (3หาง) ที่ตำแหน่ง Jugular vein ด้านขวา สำหรับให้ยา Levophed 4mg IV และ Dopamine 20ml/hr. on EKG shows irregular rhythm BP 142/62 mmHg RR 16 bpm P 62 bpm O2sat100% ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation both lung ผิวหนังไม่บวมแดง แขนขาไม่บวมตึง on A–line ที่ Left dorsalis pedis ปิด gauze ไม่มี discharge ซึม Retained Foley’s catheter no.14 ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม มีตะกอน ปริมาณ 100 ml. ไม่มีข้อติดแข็ง ไม่มีเท้าตก