Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท, นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล เลขที่30…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท
Guillanin Barre’s syndrom
กล่มอาการของโรคที่เกิดจากการ บวมอักเสบของระบบประสาทส่วน ปลายอย่างเฉียบพลัน
เกิดจาก
ระบบภูมิกันร่างกายทำงานผิดปกติ
มีการสร้างmyelin sheath ของเส้น ประสาทไขสันหลัง
อาการเเละอาการเเสดง
1.sensation
เริ่มมีการเหน็บชา เจ็บเเละปวด
อาจเริ่มด้วยการคล้ายเป็นตะคริวที่ ส่วนปลาย
2.motor
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง
อาการอัมพาตใน GBS จะเริ่มที่ขา เดินลำบากเเละลุกลามขึ้นเเขนลำตัวบน
3.อาการของประสาทสมอง
มีอัมพาตของใบหน้า มีความผิด ปกติของการเเสดงสีหน้า
4.อาการลุกลามของประสาท อัตโนมัติ
ส่วนmedulla oblongataที่ควบคุม การทำงานของอวัยวะที่สำคัญ
เกิดความผิดปกติในระบบประสาท อัตโนมัติ
การรักษา
การรักษาดวยการเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า
การรักษาด้วย Immunglobulin
การวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียง พอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนเเร งอย่างเฉียบพลัน
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารจากไม่ สามารถช่วยเหลือตัวเองจากกล้าม เนื้ออ่อนเเรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การไม่เคลื่อนไหว จากกล้ามเนื้อ อ่อนเเรงทำให้สูญเสียความสามารถ ในการดูเเลตนเอง
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลัน เเละต่อเนื่อง
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะการ หายใจ
ให้ออกซิเจน
ติดตามการประเมินการเคลื่อนไหว กำลังกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ
Cerebral palsy (โรคสมองพิการ)
หมายถึง
คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว เนื่องจากความ ผิดปกติในการทำงานของสมอง
ทำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของ อวัยวะต่างๆอย่างปกติได้
มักมีปัญหาการเคลื่อนไหวอวัยวะที่ ใช้ในการหายใจเเละการพูดด้วย
ระยะก่อนคลอด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของ มารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์เดือน ที่6-9
มารดามีภาวะชักหรือปัญญาอ่อน
การเกิดก่อนกำหนด นำ้หนักตัวน้อย
มารดาขณะตั้งครรภ์มีการใช้ยาบาง ชนิด
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน
ได้รับอันตรายจากการคลอด คลอดยาก
รกพันคอ คลอดท่าก้นทการใช้คีมดึงเด็ก
ระยะหลังคลอด
การได้รับกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
ตัวเหลืองเมื่อเเรกเกิด
เส้นเลือดในสมองมีความผิดปกติ
การขาดออกซิเจนจากการจมนำ้
การติดเชื้อบริเวณสมอง
อาการเเละอาการเเสดง
ลักษณะอ่อนปวกเปียก
อาจหายใจช้า
สูญเสียการทรงตัว ปัญญาอ่อน พูดไม่ชัด
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การทำกายภาพบำบัด
การให้early stimulationเพื่อให้ สมองที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การเเก้ไขความผิดปกติของการเรียน รู้ที่สำคัญ
เเก้ไขความผิดปกติของระบบ ประสาทส่วนอื่น
การให้คำเเนะนำผู้ปกครองในกา รดูเเลเด็กในชีวิตประจำวัน
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของ ร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทาน อาหาร
เสี่ยงต่อการพัฒนาช้ากว่าวัย เนื่องจากความ บกพร่องของระบบประสาท
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากบกพร่อง เรื่องการเคลื่อนไหว
บิดามารดา ขาดความรู้ในการดูเเลเด็ก
ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง หรือเนื้อสมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อเเบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
Cerebrospinal fluid test
Pressure
เด็กโต = ︎︎︎-︎︎︎ mmH2O
ทารก︎︎︎mmH2O
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl(ครึงหนึ่ง ของน้ำตาลในเลือด
Protein 14-45 mg/dl
โรคไขสมองอักเสบjapanese encephalitis(JE)
อาการเเละอาการเเสดง
มีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
ชักเกร็งกระตุก หายใจไม่สม่ำเสมอ
ถ้ารุนเเรงมากจะถึงเเก่กรรม7-9วัน
ถ้าพ้นระยะนี้เเล้วจะผ่านเข้าระยะฟื้น ตัว เเละมักมีความพิการเหลืออยู่
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจเเยกเชื้อไวรัส เอจี จากเลือด
หรือนำ้ไขสันหลัง
ปัจจุบันคือตรวจหาIgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอีในนำ้ไขสันหลัง เเละในเลือด
การรักษา
ดูแลรักษาเฉพาะintensive care unit
ให้ยาลดไข้ลดอาการบวมของสมอง
ระงับอาการชัก
ดูเเลทางเดินหายใจให้โล่ง
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด
ไม่ควรเลี้ยงหมูไว้ใกล้บ้าน
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
หลักการพยาบาลผป.ที่มีอาการชัก
จัดท่านอนราบ ตะเเคงหน้าด้านใด ด้านหนึ่ง
ดูเเลทางเดินหายใจให้โล่
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจน
ขณะชักให้งดอาหาร นำ้ทางปาก
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงใน รายที่มีอาการชักเกร็ง
ถ้ามีไข้สูงให้เช็ดตัวด้วยนำ้ธรรมดา
ดูเเลให้ได้รับยากันชัก
ขณะผป.ชักควรป้องกันอันตรายจาก การเกิดอุบัติเหตุ
ช่วยแพทย์ในการเตรียมตรวจ
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
ภายหลังให้การพยาบาลยกไม้กั้น เตียงขึ้น
สังเกตและบันทึกอาการชักเเละระดับ ความรู้สึกตัวขณะชัก
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก4ชม
การให้คำเเนะนำเเละเตรียมความรู้ เเก่บิดา
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรค
เเนะนำวิธีการปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีไข้
เเนะนำวิธีปฏิบัติเมื่อผป.เกิดอาการ ชัก
เเนะนำการดูเเลให้ยากันชักเเละผล ข้างเคียงของยา
โรคลมชัก
Partial seizure
Generalized seizure
สาเหตุ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคที่สมอง
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชัก
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet
กระฝั่งเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
ชักจากไข้สูง
ไม่มีความผิดปกติของสมอง
มีความผิดปกติของสมอง
การรักษา
ระยะที่มีอาการชัก
ชักเกิน5นาทีต้องให้หยุดชักให้เร็ว ที่สุด โดยใช้ยาระงับ
ให้ยาลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติ ตรวจร่างกายอย่างระเอียด ให้ยา ป้องกันทานทุกวันร1/2ปี
Hydrocephalus(ภาวะนำ้คั่งในโพร่งสมอง)
ความหมาย
ภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังใน กระโหลกศีรษะ
บริเวณventricle&subarachnoid space
ทำให้เกิดความดันภายในกระโหลกศีรษะ
สาเหตุ
การสร้าง ผลิตนำ้ที่ไขสันหลังผิดปกติ
การอุดตันการไหลเวียนของนำ้หล่อ สมองเเละไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมนำ้ ไขสันหลัง
อาการเเละอาการเเสดง
ศีรษะโต/หัวบาตร
เด็กเล็กมีกระหม่องโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบาง มองเห็นหลอดเลือด
ความดันของกะโหลกศีรษะสูง
ตาสองข้างกรอกลงล่าง
ตาพร่ามัว เห็นภาพซ่อน
รีเฟลกซ์เเละtone ของขา2ข้างไว กว่าปกติ
กลิ่มเนื้ออ่อนเเรง
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
การเจริญเติบโตและพัฒนาช้า
การวินิจฉัย
การตราวจด้วยการส่องไฟฉาย
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินนำ้ไขสันหลัง
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
ปัญหาแทรกซ้อนของการผ่าตัด ใส่shunt
Obstruction
Infection
การพยาบาลก่อนการพยาบาล
ปัญหาที่1 อาจเกิดความดันใน กะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของนำ้ ไขสันหลัง
ประเมินอาการความดันในกะโหลก ศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลา เดียวกัน
จัดท่านอรศีรษะสูง15-30องศา
ปัญหาที่2 อาจเกิดเเผลกดทับบริเวณ ศีรษะ
จัดให้นอรที่นอนนุ่มๆ
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดของผิวหนัง
จัดผ้าปูที่นอนให้เรียบตึง
ตรวยสอบประเมินการเกิดเเผลกด ทับสม่ำเสมอ
ปัญหาที่3 อาจขาดสารนำ้เเละสาร อาหารเนื่องจากสำรอกอาเจียนหรือ ดูดนมได้น้อย
ดูเเลให้นมครั้งละน้อยๆ เเต่บ่อยครั้ง
ขณะให้นมควรจัดศีรษะสูง
หลังให้นมจับเรอไล่ลม
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีปัญหาเหมือนก่อนผ่าตัดเเต่เพิ่มเรื่องกา รดูเเลเเผลผ่าตัดตัดเเละการป้องกันภาวะ แทรกซ้อนหลังผ่าตัด
1.การติดเชื้อที่เเผลผ่าตัด
2.การระบายนำ้ไขสันหลังเร็วเกินไป
ปัญหาเเละภาวะแทรกภายหลังทำ ผ่าตัดสายระบาย
การติดเชื้อของสายระบายนำ้ใน โพรงสมอง
การทำงานผิดปกติของสายระบาย นำ้ในโพรงสมอง
การอุดตันของสายระบายนำ้ใน โพรงสมอง
ภาวะโพรงสมองตีบเเคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะเนื่องจาก การผ่าตัด
เกิดเเผลเป็นที่สมอง
Spina bifida
Spina bifida occulta
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ ตรวจ พบalphafetoprotien ในนำ้ครำ่สูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
ปัญหา1 อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงนำ้ครำ่เเตก
จัดท่านอนตะเเคงหรือนอนควำ่
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูเเลนำ้ให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดเเผล
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
ประเมินติดเชื้อ
ปัญหา2อาจมีการติดเชื้อของระบบ ทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคั่งของ นำ้ปัสสาวะ
ทำcrede’manuever ทุก2-4ชม.
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยาปฏิชีวนะ
ปัญหา3มีกล้ามเนื้อเเขนขาอ่อนเเรง จากการกดเบียดเส้นประสาท
ทำpassive exercise
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการ เคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนเเรงของเเขนขา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ปัญหา1มีโอกาสติดเชื้อบริเวณเเผล ผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อน อุจจาระ ปัสสาวะ
จัดท่านอนตะเเคงหรือนอนคว่ำ
ดูเเลทำความสะอาดเเผล
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูเเลให้ยาปฏิชีวนะ
ปัญหา2เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลัง ผ่าตัด
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก2-4ชม.
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เเผลติดเชื้อ เเละ hydrocephalus
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวัน เพื่อ ประเมินhydrocephalus
บริหารเเขนขา เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
Down’s syndrome
เป็นความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ ที่21 พบบ่อยที่สุดในกลุ่มโรค พันธุกรรม
โอกาสเสี่ยงถ้ามารดาอายุ มากกว่า30ปี
บิดามารดาของผป.จะมีโครโมโซม ปกติ
อาการเเละอาการเเสดง
กล้ามเนื้อปวกเปียก
หัวเเบนกว้าง
คอสั้นเเละผิวหนังด้านหลังคอค่อน ของมากเเละนิ่ม
หูอยู่ตำ่
Brush field spot
ปากอ้าเเละลิ้นมักยื่นออกเเละมีรอย เเตกที่ลิ้น
มือกว้างเเละสั้น มักมีsimian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าเเละนิ้วเท้าชี้ กว้าง
ดส้นลายนิ้วมือพบulner loop
ทางเดินอาหารอุดตัน
Hypothyroidism
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
การรักษา
การกระตุ้นเเละส่งเสริมพัฒนาการ ให้เหมาะสมตามวัยตั้งเเต่อายุน้อย
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วม ด้วย
การให้คำปรึกษาเเนะนำด้าน พันธุกรรม
นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล
เลขที่30 ห้อง36/1