Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น…
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีปัญหา
3.ปัญหาการติดเชื้อ Sepsis
ปัญหาระบบทางเดินอาหาร Necrotizing Enterocolitis
•เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
•การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
•ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
•การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
• - NPO
• - ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
• - แยกจากเด็กติดเชื อ / แยกผู้ดูแล
• - ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
• - ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
• - เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื อ เฝ้าระวังภาวะล้าไส้ทะลุ
4.ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
• เพื่อช่วยยับยังการสร้างprostaglandin ซึ่งจะท าให้ PDA ปิด
• ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
• สามารถปิดได้ร้อยละ 70
• ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
• ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine 1.6มิลลิกรัม/เดซิลิตรและ BUNมากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
•ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
•ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
*urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
2.ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
คือภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
มีอาการหายใจลำบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั ง/ นาที มีปีกจมูกบาน หายใจมีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อทรวงอก (retraction) ,หายใจมีเสียง Grunting
อาการเขียว (Cyanosis) ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
การป้องกัน
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด ซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรด ขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดแรงตึงผิว
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
• ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
• รักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรไลท์สมดุลกรด ด่างในเลือด
• รักษาระดับฮีโมโกลบินในเลือดและความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
• ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อร่วมด้วย
apnea of prematurity
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม
obstruction apnea ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
•จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
•สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม (chest wall retraction) , ABG
•suction เมื่อจ้าเป็น
•ระวัง การส้าลัก
•ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Retinopathy of PrematurityRetinopathy(ROP)
เป็นความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดกอนกำหนดที่
มีน้ำหนักน้อยโดยมีลักษณะสำคัญคือ การงอกผิดปกติของเส้นเลือด
ระยะเวลาการตรวจหาROP
• ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 – 6 สัปดาห์ หรือเมื่อทารกอายุครรภ์รวมอายุหลังเกิด 32 สัปดาห์
• ถ้าไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
• ถ้าพบว่ามีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์หรือตามแผนการติดตามประเมินของแพทย์
• หลังจากทารกกลับบ้านแล้วถ้าไม่มีการด้าเนินของโรค นัดมาตรวจซ ้า
• ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ ้าทุก ๆ 1 – 2 สัปดาห์
ความรุนแรง
• stage1 Demarcation line between vascularized and avascular retina
• Stage 2 Ridge between vascularized and avascular retina
• Stage 3 Ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
• Stage 4 Subtotal retinal detachment: (a) extrafoveal detachment (b) foveal detachment
• Stage 5 Total retinal detachment
1.ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ Hypothermia
ผลกระทบ
• การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
• น้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
• ภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
• น้ำหนักลด (Poor Weight Gain)
• ภาวะลำไส้เน่า (NEC)
• ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
• ภาวะเลือดออก (Bleeding Disorder)
• อัตราการตายเพิ่มขึ้น
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
การวินิจฉัย อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5 C (วัดทางทวารหนัก)
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด ความต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
•จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
•วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
•ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
•หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม. และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
5.ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra-ventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
6.ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
การพยาบาล
"gavage feeding (os tube) ในเด็กเหนื่อยง่ายดูดกลืนไม่ดี
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
. * ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30 กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ(36.8 - 37.2 ซ.)
การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
การป้องกันการติดเชื้อ
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
การป้องกันการเกิดการแตกทำลายของผิวหนัง
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity (ROP)
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด (Developmental care)
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก (bonding, attachment)
การพยาบาลทารกครบกำหนดที่มีปัญหา
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ Hypoglycemia
น้ำตาลในเลือดต่ำหมายถึงระดับ น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
อาการแสดง : ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียกอุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุดังนี้
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
การรักษา
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมือแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล.
ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
✓25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
✓ถ้าน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
✓ถ้าน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
✓35-45 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
การดูแล
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำา จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติ
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกโดย ทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 ถึง 15 วินาทีหลังเกิด โดยทารกต้องมีอาการดังต่อไปนี คือ
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
ความรุนแรงแบ่งได้เป็น3 ระดับ
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมง
การพยาบาล
เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
• การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
• การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
• การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
• ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
• ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
• ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
• เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
• การดูแลทางโภชนาการ
• การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีอุดตัน
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ถ้าระดับบิลิรูบินสูงมากอาจจะท้าให้เกิดภาวะ Kernicterrus
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหหรือไม่
มีจุดเลือดออก บริเวณใดหรือไม่
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การพยาบาล
จัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่ำและ
เปลี่ยนท่านอนทุก 2-4ชม.เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา เช็ดทำความสะอาดตา และตรวจตาของทารกทุกวัน
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
ในระยะห่างจากหลอดไฟ ประมาณ35-50 เซนติเมตร
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ ระหว่างการส่องไฟทารกอาจถ่ายอุจจาระบ่อยขึ้นอาจจะมีอาการถ่ายเหลวสีเขียวปนเหลืองจากบิลิรูบินและน้ำดี
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา ได้แก่ ภาวะขาดน้ำ ถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่นที่ผิวหนัง หรือภาวะแทรกซ้อนที่ตา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
• อธิบายให้บิดามารดาทราบ
• เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
• ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
• ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
• สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย แคลเซียมในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ ตัวเย็น ติดเชื้อ
• ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
Normal birth weight infant (NBW infant)
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800 – 4,000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant)
ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant)
ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant)
ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
Low birth weight infant (LBW infant)
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
มารดามีภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
เศรษฐานะไม่ดี
ทารกคลอดเมื่ออายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนังน้อย
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนด
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ
นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29 รหัสนักศึกษา 612001030