Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด, นายมุกรอม หะมะ 6020810003 - Coggle…
ภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด
preterm
ความหมาย
preterm birth คือ คลอดตั้งแต่อายุครรภ์ 24-36 สัปดาห์
preterm labour คือ การเจ็บครรภ์คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอ หรือการขยายของปากมดลูก ตั้งแต่ GA 24-36 wks
สาเหตุ
การดื่มแอลกอฮอล์
ความเครียด
ครอบครัวมีฐานะยากจนหรือมีรายได้น้อย
มีประวัติคลอดก่อนกำหนดมาก่อน
อายุ <18 or >34 ปี
การสูบบุหรี่
การใช้สารเสพติด
การรับประทานยาบางชนิด
สภาพการทำงาน
เกิดอุบัติเหตุในขณะตั้งครรภ์
การมีเพศสัมพันธ์ขณะตั้งครรภ์
การไม่ไปฝากครรภ์
ติดเชื้อ
โรคประจำตัว
ผลกระทบ
มารดา
ปัญหาด้านจิตใจ มีความเครียด กลัวเลี้ยงลูกไม่รอด
ปัญหาด้านสังคม เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการดููแลรักษา
ทารก
ภาวะปอดไม่สมบูรณ์
เลือดออกในสมองอย่างเฉียบพลัน
การติดเชื้อ
น้ำหนักตัวน้อย
พัฒนาการช้า
โลหิตจาง
แนวทางการดูแล
ให้การป้องกันการคลอดก่อนกำหนดแก่สตรีแต่ละรายโดยพิจารณาตามความเหมาะสม
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้ยาโปรเจนโตโรน
การเย็บปากมดลูก
ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
แนะนำให้หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และยาเสพติด
แนะนำให้หยุดสูบบุรี่
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการทำงานที่เกินไป
Uterine rupture
ภาวะที่มีการฉีกขาดของมดลูกในขณะตั้งครรภ์หลังจาก 28 wks
ลักษณะ
มดลูกแตกสมบูรณ์
มดลูกแตกไม่สมบูรณ์
มดลูกปริ
ปัจจัยเสี่ยง
มีแผลที่ตัวมดลูกมาก่อน
มดลูกผิดปกติแต่กำเนิด
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การคลอดติดคัดหรือทารกอยู่ในท่าที่ผิด
การใช้หัตถการช่วยคลอด
มีประวัติได้รับอุบัติเหตุรุนแรง
อาการทางคลีนิค
ปวดท้อง
ซีดหรือช็อค
เลือดออกทางช่องคลอด
ทารกมีภาวะ fetal distress หรือเสียชีวิตอย่างฉับพลัน
คลำไม่ได้ส่วนนำของทารก
คลำได้ส่วนนำของทารกลอยสูงขึ้น
การดูแลรักษา
ให้น้ำเกลือ ชนิด crystolloid
ให้ออกซิเจน
เจาะเลือดตรวจ CBC ,Plt count , blood grouping ,PT,PTT
ให้เลือด PRC ถ้ามีภาวะซีด
ตรวจสัญญาชีพและปริมาณปัสสาวะ
ผ่าตัดฉุกเฉิน
เย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก
postterm pregnancy
คือ การตั้งครรภ์ที่ GA > 42 wks เต็มหรือมากกว่าโดยนับจาก LMP
ปัจจัยเสี่ยง
มารดา
มีประวัติครรภ์เกินกำหนด
มีประวัติเกิดโรคทางพันธุกรรมในครอบครัว
ทารก
เพศชาย
ที่มีความพิการแต่กำเนิด
รก
placenta sulfatase deficiency
ผลกระทบ
มารดา
คลอดบุตรยาก
มีโอกาสเกิดการฉีกขาดของฝีเย็บ
มีโอกาสได้รับการผ่าตัดคลอด
มีโอกาสเสียชีวิต
ทารก
postmaturity syndrome
macrosomia
IUGR
le]yd-uhgmk
hypothermia,hypoglycemia
การรักษา
ยาชักนำการคลอด
ผ่าคลอด
amniotic fluid embolism
คือ การที่มีน้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
สาเหตุ
มีทางติดต่อกันของน้ำคร่ำกับหลอดเลือด
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง
มีรูรั่วหรือการแตกของถุงน้ำคร่ำ
ลักษณะทางคลินิก
ขาดออกซิเจน
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ความดันโลหิตต่ำ
การดูแลรักษา
ให้ออกซิเจน
เพิ่มการไหลเวียนของเลือด
ป้องกันความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
รักษาเยื้องต้น ทำ CPR
Fetal vessel rupture
คือ การเกาะของสายสะดือผิดปกติ ทำให้เกิด vasa previa
ลักษณะทางคลินิค
คลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับเสียงหัใจทารก
มีเลือดออกทางช่องคลอดตามหลังพร้อมๆกับการแตกของถุงน้ำคร่ำ
มีภาวะ fetal distress
การวินิจฉัย
อัลตราซาวด์พบเส้นเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
ตรวจรกหลังคลอดจะพบรอยฉีกขาดของเส้นเลือด
การดูแลรักษา
ให้น้ำเกลือชนิด crystalloid
ให้ออกซิเจน
ประเมิน v/s
ให้คลอดทันทีหากพบถุงน้ำคร่ำแตก
หากวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้ผ่าคลอด
นายมุกรอม หะมะ 6020810003