Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ, นางสาวศศิธร …
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ
การทำคลอดโดยใช้คีม
ความหมาย
วิธีช่วยคลอดโดยผู้ทำคลอดจะใช้คีม(forcep) ดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอด
ประเภท
Long Curve Axis Traction Forcep
Kielland Forceps
Short Curve Forcep
หน้าที่
Extractor (ตัวดึง)
Rotation (ตัวหมุน)
สภาวะที่เหมาะสม
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ปากมดลูกเปิดหมด
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ติดเชื้อ
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ทารก
คีมกด Clavical plexus จะทำให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
ตรวจช่องทางคลอดเพื่อประเมินลักษณะของปากมดลูก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การตรวจทางหน้าท้อง
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อ
การช่วยคลอดด้วยคีม
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ
คลอดครั้งก่อน
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ความหมาย
วิธีการคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศดูดและดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอดในระยะที่ผู้คลอดมีมดลูกหดรัดตัวเท่านั้น
สภาวะที่เหมาะสม
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ปากมดลูกเปิดหมด
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ทารก
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
อาจจะเกิด Cephal hematoma
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
ภาวะจิตสังคม
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การชักนำการคลอด (Induction of labour)
หมายถึง
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28
สัปดาห์ หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัม
ข้อบ่งชี้ทางด้านสูติกรรม
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
ข้อห้าม
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
ทารกท่าขวาง CPD
Prolapsed cord
ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่ำหรือผ่านปากมดลูก (vasa
previa)
Fetal distress
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
Twins
วิธีการชักนำการคลอดที่นิยม
Medical นิยมใช้ Oxytocin และ prostaglandins
Prostaglandin E1 dose 25 ถึง 50 mg
Protaglandin E2 dose 10 mg
การใช้ Oxytocin นิยมใช้เพื่อ Augmentation of labor
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Interval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่า 60 วินาที
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที จนกว่า การหดรัดตัวของมดลูกจะดี
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง
ความหมาย
การทำผ่าตัดเพื่อนำทารกออกจากมดลูก โดยผ่านทาหน้าท้อง
ชนิด
Classic cesarean
lower – segment cesarean
ข้อบ่งชี้
ท่าผิดปกติ
CPD
Total placenta previa
มะเร็ง ปากมดลูก
ข้อบ่งชี้ร่วม
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
Previous C/S
ยาระงับความรู้สึก
Epidural block
GA
Spenal block
การพยาบาล
การพยาบาลภายหลังทำผ่าตัด
การพยาบาลมารดาที่มีโอกาสเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะ
การพยาบาลมารดาที่อาจเกิดอาการท้องอืด ท้องผูกขึ้นได้
ภาวะแทรกซ้อนของระบบหายใจ
อาการปวดแผลเป็นอาการที่มารดาได้รับความทรมานและต้องการให้อาการปวดหายไป
การพัฒนาทักษะในการดูแลทารกหรือการแสดงบทบาทของมารดา
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจกเกิดขึ้น
การพยาบาลมารดาที่มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและหมู่เลือด
ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษาของแพทย์
ตรวจนับสัญญาณชีพ (Vital signs) และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออก
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการโกนขนตั้งแต่บริเวณยอดอกลงมาจนถึงต้นขาทั้งสองข้าง
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม.
เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก ให้พร้อม
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัว
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
นางสาวศศิธร แก่นจันทร์ รหัสนักศึกษา 602701089