Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มี ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด, นางสาวชนัญธิดา อินตา เลขที่…
การพยาบาลผู้คลอดที่มี
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
Prolapse of Cord
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ หมายถึง ภาวะที่สายสะดือเคลื่อนลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของของทารกอาจอยู่ในช่องคลอด หรือโผล่ออกมานอกปากช่องคลอด ซึ่งมักจะเกิดขึ้นหลังจากมีการแตกของถุงน้ำคร่ำ
ชนิด
Forelying cord
เคลื่อนต่ำลงมาจนถึงปากมดลูก ตรวจ
ภายในจะสามารถคลำพบสายสะดือได้
Complete prolapse of cord
พลัดออกมาจนพ้นปากมดลูก กรณีที่ถุงน้ำแตกสามารถ
มองเห็นสายสะดือโผล่พ้นออกมาจากปากช่องคลอด
Occult (Hidden) prolapse of cord
สายสะดือเคลื่อนต่ำลงมา
พอที่จะถูกส่วนนำของทารกกดได้
สาเหตุ
ทารกมีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
ส่วนนำไม่กระชับกับช่องทางคลอด
ตั้งครรภ์แฝดเด็กหรือแฝดน้ำ
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
การคลอดก่อนกำหนด
สายสะดือยาวกว่าปกติ
รกเกาะต่ำทำให้สายสะดืออยู่ใกล้กับปากมดลูก
ผลกระทบ
ต่อมารดา
มักเกิดจากการได้รับยาสลบจากการช่วยคลอด
หากทารกเสียชีวิตมารดาจะประสบกับภาวะเศร้าโศก
ต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจนและถึงแก่ชีวิตได้
อาการและอาการแสดง
ชนิด Complete prolapse cord
มารดามีความรู้สึกขัดตุงบริเวณช่องคลอดภายหลังจากถุงน้ำแตก
PV พบสายสะดือพลัดต่ำกว่าส่วนนำของทารก โดยอาจตรวจพบการเต้นของหัวใจทารกบริเวณสายสะดือ
ชนิด Occult prolapse cord ไม่พบสายสะดือโผล่ออกมาหรือคลำไม่ได้ แต่จะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของFHS -> Variable deceleration
การป้องกัน
มารดาที่มีภาวะเสี่ยงไม่ควรเบ่งก่อนเวลาที่
เหมาะสม หรือให้รีบมาโรงพยาบาลทันทีที่ถุงน้้ำแตก
ในการเจาะถุงน้ำ เจาะในเวลาที่มดลูกมีการหดรัด
ตัว ปล่อยน้ำให้ไหลออกมาช้า ๆ ฟัง FHS ทันที
ที่ถุงน้ำคร่ำแตกเอง ควรPVเพื่อประเมินว่ามี Prolapse of Cord
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดด้วย
ควรจัดให้นอนท่า Semi – Fowler’s position,
ลดกิจกรรมลุกเดิน
ประเมินลักษณะการเต้นของหัวใจทารกชนิด
Variable deceleration
การรักษา
จัดให้มารดานอนในท่ายกก้นสูง Trendelenburg , Knee – chest
สวมถุงมือ Sterile แล้วดันส่วนนำไม่ให้กดทับบริเวณ
สายสะดือจนกว่าการคลอดจะสิ้นสุดลง
ห้าม
ดันสายสะดือที่โผล่พ้นออกจากช่องคลอดกลับเข้าไปใหม่ ควรใช้ผ้า Sterile นุ่มๆ ชุบ NSS อุ่น ๆ คลุมบริเวณสายสะดือที่โผล่ออกมา
พยายามให้ทารกคลอดออกมาให้เร็วที่สุด
ให้ออกซิเจนแก่มารดา 8 – 10 ลิตร/นาที
หากทารกเสียชีวิตแล้ว ->คลอดเอง, ใช้คีมช่วย
การพยาบาล
ซักประวัติ
ดูแลมารดาอย่างใกล้ชิด, เตรียมการช่วยเหลือ
ในกรณีที่ทารกเสียชีวิตแล้ว พยาบาลจะต้อง
ช่วยประคับประคองด้านจิตใจให้กับมารดา
Fetal distress
Fetal distress หมายถึง ภาวะที่ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจน หรือได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีความดันโลหิตต่ำ มีความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าอย่างรวดเร็วหรือช๊อคจากโรคหัวใจ มีภาวะซีด
ประสบกับภาวะทุพโภชนาการ หรือมีการขาดน้ำ
ร่างกายมารดามีภาวะเป็นกรด
เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
ด้านรก
หลอดเลือดที่บริเวณรกเสื่อมสภาพ หรือขาดเลือดไปเลี้ยง
หรือมีการลอกตัวของรกก่อนกำหนด
ด้านสายสะดือ
สายสะดือถูกกดทับ หรือบิดเป็นเกลียว หรือเกิดการพับงอ
ด้านมดลูก
มดลูกมีการหดรัดตัวที่รุนแรงมากผิดปกติ หรือเกิดจากการ
เสื่อมสภาพของหลอดเลือดบริเวณมดลูก (Vascular degeneration)
ด้านทารก
ทารกมีการติดเชื้อ พิการแต่กำเนิด มีภาวะซีด หรือมีความ
ผิดปกติเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือดในครรภ์แฝด
ผลกระทบ
ทารก
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเป็นเวลานาน จะนำไปสู่การเกิด
ความพิการของสมองหรือมีพัฒนาการช้ากว่าปกต
มารดา
เกิดปัญหาด้านจิตสังคมในระยะคลอดที่มารดาอาจจะต้องเผชิญ
อาการและอาการแสดง
ทารกในครรภ์ดิ้นอย่างรุนแรงและมากขึ้น -> Acute fetal distress
4.ทารกในครรภ์เริ่มดิ้นน้อยลง -> Chronic fetal distress
มีการเปลี่ยนแปลงของการเต้นของหัวใจทารก/ไม่สม่ำเสมอ
มีขี้เทาปนออกมากับน้ำคร่ำในท่าที่มีศีรษะเป็นส่วนน า
การวินิจฉัย
การสังเกตลักษณะของน้ำคร่ำ
การสังเกตการดิ้นของทารก
การฟังเสียงหัวใจทารก (FHR)
การบันทึกการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่อง Monitor
การรักษา
ให้ Oxygen mask ในปริมาณ 6 – 10 ลิตร / นาที
บันทึกFHSด้วยเครื่อง Monitor ตลอดเวลา
นอนตะแคง
กรณีที่มารดาได้รับ Oxygocin ควรหยุดการให้ทันที
เจาะ Fetal scalp blood sampling เพื่อประเมินภาวะ Acidosis
รีบทำคลอดตามความเหมาะสม
การพยาบาล
ซักประวัติตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะก่อนคลอด
เมื่อถุงน้ำคร่ำแตกจะต้องฟังFHSทันทีและสังเกตลักษณะของน้ำคร่ำ
สังเกตลูกดิ้น
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
Amniotic Fluid Embolism (AFE) เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่มี
ความรุนแรง คือภาวะที่มีน้ำคร่ำรั่วแลว้มีการพลดัเขา้ไปในกระแสเลือด
ทางมารดา ไปอุดกลั้นบริเวณหลอดเลือดดดำที่ปอดซ่ึงเกิดข้ึนทันที
อาการและอาการแสดง
ระยะที่1
hemodynamiccollapse
หายใจลำบาก
แน่นหน้าอก
ขียวตามปลายมือปลายเท้า ใบหน้า
และลำตัวเกิดข้ึนแบบทันทีทันใด
หัวใจและปอดหยุดทำงาน
BP ต่ำ PR เร็ว อาจมีอาการชักเกร็ง
ระยะที่ 2
coagulopathy
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
ตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำ
การแข็งตัวของเลือดยาวนาน
เกิดภาวะ DICและเสียชีวิตในที่สุด
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
ทารกตายในครรภนานเกิดการเปื่อย
ทำให้หลอดเลือดเกิดการฉีกขาดด้วยน้ำคร่ำ
รกรอกตัวก่อนกำหนด
น้ำคร่ำจะพลัดเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีทางเปิดติดต่อกัน
มดลูกมีการหดรัดตัว
การรักษา
ไม่มีการรักษาโดยเฉพาะแต่
จะรักษาตามอาการ
ป้องกันระบบการต่างๆทำงานล้มเหลว
ช่วยฟื้นคืนชีพ ให้สารน้ำ ให้ยาตามแผนการรักษา
ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติและภาวะตกเลือด
ให้ออกซิเจน 100%
กรณีมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อาจให้ prostaglandins
หรือตัดมดลูก
กรณีไม่สามารถควบคุมเลือดออกได้
รักษาภาวะDIC
ด้วยยา heparin
การพยาบาล
ภาวะนี้เกิดข้ึนแบบทันที
ต้องให้การพยาบาลที่รวดเร็ว
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟ้ืนคืนชีพให้พร้อมใช้งานทุกครั้ง
ดูแลจจัดท่า ให้ O2 100% ให้ยา
สารละลายทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
เตรียมช่วยคลอดอย่างด่วนเร่ง
ให้ข้อมูล ประคับประคองด้านจิตใจของสามีครอบครัวและญาติ
รกค้าง รกติด มดลูกปลิ้น
รกค้าง รกติด
รกค้าง
รกค้าง คือ รกไม่คลอดภายใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด
สาเหตุ
การขาดกลไกการลอกตัว
แม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ
แต่รกผิดปกติ
รกปกติ แต่มดลูกไม่มีการหดรัดตัว
การขาดกลไกการขับดัน
รกลอกตัวแต่ไม่อาจผ่านออกมา
จากโพรงมดลูกส่วนบนได้
เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ
รกลอกตัวแล้ว และผ่านโพรงมดลูกออกมาอยู่
ในช่องคลอด แต่มารดาไม่เบ่ง
สาเหตุส่งเสริม
มีประวัติรกค้าง
คยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกิดรกค้าง C/S,
ขูดมดลูก, ผ่าตัดมดลูก
การทำคลอดรกก่อนรกลอกตัวสมบูรณ์
มดลูกมีลักษณะผิดปกติ
การประเมินสภาพ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
กรณีที่มีเศษรกค้าง
มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวน
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว
มารดามีอาการแสดงของภาวะช็อก
ผลกระทบ
มารดา
เกิดการติดเชื้อหลังคลอดได้
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง
เนื่องจากรกฝั่งตัวลึกกว่าปกติ
ตกเลือดหลังคลอด
อาจถูกตัดมดลูก
ทารก
ได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก
ให้ยาแล้วไม่ได้ผล -> ล้วงรก
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ตรวจดูอาการแสดง (signs) ของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริม
ที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก
รกติด
เป็นภาวะที่รกไม่สามารถลอกตัวได้ตามปกติ
เนื่องจากมีการฝังตัวของเซลล์ trophoblast
ชนิด
placenta accreta
trophoblast ฝังตัวลงไปตลอดชั้น spongiosa ของเยื่อบุ
มดลูกอาจทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน แต่ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ
placenta increta
trophoblast ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
แต่ไม่ถึง serosa
placenta percreta
trophoblast ฝังตัวลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa
Uterine inversion
คือ ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมา
อยู่ด้านนอกหรือโผล่ออกมาทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
PV จะคลำได้ก้อนเนือบริเวณปากมดลูกช่องคลอด
หรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
มีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลัน
และมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
ถ่ายปัสสาวะขัดหรือรู้สึกถ่วงที่ช่องคลอด ปวดอุ้งเชิงกราน
สาเหตุุ
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
รกเกาะแน่นแบบ Placenta accrete
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
การเพิ่มแรงดันภายในช้องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
การรักษามดลูกปลิ้น
ให้สารน้ำเป็น RLS 120 cc/hr.
ดันมดลูกกลับเข้าสู่โพรงมดลูก ใช้ยาชา/ยาคลายกล้ามเนื้อ
ให้oxygen เป็น mask with bag 8-10 LPM
เมื่อมดลูกกลับเข้าที่เดิมแล้วฉีด Methergin หรือ Oxytocin
ให้มดลูกหดรัดตัว
ชนิด
complete inversion
มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
Prolapsed of inverted uterus
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด
Incomplete
inversion
ส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นปากมดลูก
การพยาบาล
ป้องกันการเกิดมดลูกปลิ้น โดยทำคลอดอย่างระมัดระวังและถูกวิธี
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้นอย่างรวดเร็ว
การช่วยเหลือเพื่อป้องกันภาวะ shock
Uterine rupture
หมายถึง การฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด หรือขณะคลอด หลังจากที่ทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังจากอายุครรภ์ ๒๘ สัปดาห์
ซึ่งไม่นับการแตกของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
สาเหตุ
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุ
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม
มารดาเคย C/S ส่วนใหญ่เกิดในไตมาสที่ 3
มักแตกระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ส่วนใหญ่พบในแผลชนิด classical type
มดลูกแตกเอง
ชนิด
complete uterine ruptured
มีการฉีกขาดของ
มดลูกทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก
แตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้องทำให้เปิดต่อ
กับช่องท้อง ส่วนใหญพบทารกมีสภาพเสียชีวิต
incomplete uterine ruptured
มีการฉีกขาดของเยื่อบุมดลูดทั้ง 3 ชั้น
แต่ไม่ทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง peritoneum
มักเกิดกับรอยแผลเก่าบนผนังมดลูก อาจไม่พบเลือดออก
อาจพบเมื่อ C/S ส่วนใหญ่ทารกมีชีวิต
พยาธิสภาพ
มักเกิดบริเวณมดลูกส่วนล่าง (Lower uterine segment) จากการที่มดลูก
หดรัดตัวถี่และรุนแรงในขณะตั้งครรภ์และเจ็บครรภ์คลอด มดลูกส่วนล่างยืดขยายออกและบางมากจนกระทั่งเห็นมดลูกเป็นสองลอนทางหน้าท้อง เรียกว่า pathological retraction ring หรือ Bandl’s ring
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า PV พบ Cx อยู่สูงขั้นจากการถูกดึงรั้งขึ้นไป
หัวทารกเป็น caput succedaneum
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
Bandl’s ring
tetanic contraction
fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนเล็กน้อย ไหลไปท้องแทน
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรงจากเลือด
FHS เปลี่ยนแปลง, หายไป
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
ผู้คลอดจะเจ็บบริเวณหน้าอก ร้าวไปไหปลาร้า
เพราะเลือดในช่องท้องไปดันกระบังลม
ผลกระทบ
มารดา
ผู้คลอดอาจมีอาการแสดงของการเสียเลือดจนช็อก
อาจเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบได้
ทารก
ทารกจะมีการขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
ก่อนมดลูกแตก
PV อาการแสดงก่อนมดลูกแตก
FHS ไม่สม่ำเสมอ
tetanic contraction
หลังมดลูกแตก
ปวดท้องอย่างรุนแรง
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงกว่าเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
ควรเน้นการป้องกัน
ให้หญิงตั้งครรภ์ที่เคย C/S เว้นระยะตั้งครรภ์ 2 ปี
ประเมินภาวะเสี่ยงมดลูกแตก
เฝ้าดูแลความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
สังเกตเมื่อพบอาการผิดปกติให้รายงานแพทย์ทันที
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
NPO ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
ดูแลให้ได้รับ O2 100%
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสeหรับการผ่าตัดคลอด
ดูแลให้ได้รับ ATB
ปลอบโยนให้กำลังใจ
การรักษา
ถ้ามีภาวะช็อค ให้ Ringer’s lactate solution
เตรียม C/S พร้อมช่วยชีวิตทารก
ให้เลือดและยาปฏิชีวนะ
กรณีแตกไม่มากและผู้คลอดต้องการมีบุตรอีกอาจเย็บซ่อมแซม
แต่บางรายที่เย็บซ่อมแซมไม่ได้อาจตัดมดลูก
ภาวะช็อกทางสูติศาสตร์
การกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ์
คำนึงถึงความปลอดภัยทั้งต่อมารดาและทารกในครรภ์
หลักการที่สำคัญคือต้องให้การรักษาเพื่อให้มารดารอดชีวิตก่อนเสมอ
หลักการ
ให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด
มองหาสาเหตุที่แก้ไขได้
ดมออกซิเจนความเข้มข้น 100%
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับซ้าย
Airway and breathing
gastroesophageal sphincter หลวม อาจสำลักอาหารเข้าปอดได้ระหว่างการช่วยหายใจด้วยการบีบ ambu bagแพทย์จึงควรทำการกดกระดูกcricoid (cricoid pressure)ไว้ตลอดเวลาเพื่อป้องกันการสูดสำลัก
Circulation
ตำแหน่งกดหน้าอกมักอยู่สูงกว่าตาแหน่งปกติขึ้นไปเล็กน้อยอันเกิดจากมดลูกโตมาบิดเบือนตำแหน่งวางมือเพื่อทำการกดหน้าอก
Defibrillation
ให้ทำการช้อคไฟฟ้าได้ในกรณี
ที่จำเป็น
Postpartum Hemorrhage
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการคลอดทางช่องคลอดหรือการเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง หรือร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวของมารดาหลังจากคลอดระยะที่สามสิ้นสุดลง หรือความเข้มข้นของเลือดลดลงร้อยละ 10 ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
แบ่งเป็น 2 ระยะ
Early or immediatePPH พบมากที่สุด
ตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
Late or delayedPPH
ตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงจนถึง6 สัปดาห์หลังคลอด
อาการแสดง
อาจจะมีเลือดออกเรื่อยๆจนมารดามีภาวะช็อก
ผลทางห้องปฏิบัติการ
อัตราการเต้นของหัวใจจะเร็วขึ้นชีพจรเร็วขึ้นและเบาลงความดันโลหิตลดตํ่าลงเรื่อยๆ (ตอนแรกอาจสูงขึ้น)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
4T
Trauma
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue
เกี่ยวข้องกับรก เยื่อหุ้มรก หรือชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก
Tone
ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Thrombin
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ผลกระทบ
ต่อทารก
ศีรษะของทารกได้รับอันตรายจากการรับทารกไม่ทัน
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือขาด
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในสมอง
แนวทางการป้องกันและรักษา
4 Rs
Readiness
เตรียมความพร้อมของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Response
ดูแลรักษาเมื่อเกิดได้อย่างรวดเร็ว
Recognition and Prevention
รับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยง
Reporting and Learning
การรายงาน และการเรียนรู้
การประเมินปัจจัยเสี่ยง
B-BUBBLE
Bladder
Bleeding or Lochia
Uterus
Episiotomy
Breast and Lactation
Black ground and Body condition
Precipitous Labor
คือ การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที หรือมีการเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ๕ เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์แรก และมากกว่า10 เซนติเมตร/ชั่วโมงในครรภ์หลัง
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การหัดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด
หรือไม่รู้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีีอาการเจ็บครรภ์อย่างมาก มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา10 นาที ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกว่าหรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
ตกเลือดหลังคลอด
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
มีการคั่งของเลือดภายใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
ทารก
อาจเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมอง
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะช่วยคลอดไม่ทัน
การรักษา
การให้ยา
มักจะให้ ATB และให้ยา Methergin
ป้องกันการตกเลือด
การผ่าตัด
ดูแลตามอาการ
การพยาบาล
ประเมิน,ซักประวัติ
PV
ประเมิน UC
นางสาวชนัญธิดา อินตา เลขที่ 12
รหัสนักศึกษา602701012