Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกาย เป็นระดับความร้อนของร่างกาย ซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้าง ความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
โดยสามารถเทียบค่าจากสูตร (Wight, 2017)
-
-
-
-
-
-
-
ความดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิตมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการวินิจฉัย และเพื่อทราบปริมาณของ เลือด วิธีประเมินความดันโลหิตมี 2 วิธี
1) การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง (Central venous blood pressure: C.V.P) โดย วิธีใส่สายสวนเข้าไปใน Superior vena cava และใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบน ขวา
2) การวัดความดันโลหิตโดยทางอ้อม เป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดง มี 2 วิธี คือ วิธีการฟัง และวิธีการคลํา เครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดความดันโลหิต ได้แก่ Stethoscope และ Sphygmomanometer มี 2 ชนิด
แบบแท่งปรอท (Mercury column) และแบบแป้นกลม ใช้ความ ดันอากาศแทนปรอท (Aneroid) ซึ่งมีความแม่นยําน้อยกว่าแบบแท่งปรอท โดยขั้นตอนในการวัดความดัน โลหิตทางอ้อม
ความหมายและปัจจัยท่ีมีผลต่อความดันโลหิต
ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง มีหน่วยเป็น มิลลิเมตรปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ค่าความดันโลหิตที่วัดมี 2 ค่า คือ Systolic pressure ซึ่งเป็น ความดันที่เกิดจากการหดรัดตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อฉีดเลือดออกจากหัวใจจึงเป็นความดันที่สูงสุด สําหรับ Diastolic pressure เป็นความดันที่วัดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวจึงเป็นความดันที่ต่ำสุดและ จะอยู่ระดับนี้ตลอดเวลาภายในหลอดเลือดแดง ความแตกต่างระหว่าง Systolic pressure กับ Diastolic pressure เรียกว่า Pulse pressure
-
-
สัญญาณชีพ
-
-
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ (Vital signs) เป็นสิ่งท่ีแสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและตรวจ
พบได้จาก อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต สิ่งเหล่าน้ีเกิดจากการทํางานของอวัยวะของ ร่างกายที่สําคัญมากต่อชีวิต
การหายใจ
ความหมายและปัจจัยท่ีมีผลต่อการหายใจ
การหายใจ หมายถึง การนําออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่ร่างกาย และขับคาร์บอนไดออกไซด์ ออก โดยผ่านปอดตามลมหายใจเข้าออก
การประเมินการหายใจ
การประเมินการหายใจ เป็นการนับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจ 1 ครั้งไป จนครบ 1 นาทีเต็มมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการทํางานของปอด และทางเดินของลมหายใจ มี รายละเอียดดังน้ี
-
วิธีการปฏิบัติ
(4) นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจ ในผู้ใหญ่
สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก ในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
-
(3) เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือ
ผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากําลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
-
-
-
-
ลักษณะการหายใจท่ีผิดปกติ
ลักษณะของการหายใจปกติ (Eupnea) จะเป็นไปโดยสะดวกไม่ต้องใช้แรง ไม่มีเสียง
และไม่เจ็บปวด ลักษณะของการหายใจที่ผิดปกติ ผู้ป่วยต้องพยายามออกแรงในการหายใจ ได้แก
-
-
(1) Dyspnea เป็นอาการหายใจลําบาก การหายใจต้องใช้แรงมากกว่าปกติ สังเกต
การเคลื่อนไหวของทรวงอก การหดรัดตัวของกล้ามเน้ือบริเวณคอ
(4) Paroxysmal dyspnea เป็นอาการหอบอย่างรุนแรง ต้องลุกนั่ง ไอมีเสมหะ ลักษณะเป็นฟองละเอียดออกมา กระวนกระวาย หายใจมีเสียงดังทั้งหายใจเข้าและออก มักมีสาเหตุมา จากภาวะน้ําท่วมปอดเฉียบพลัน (Acute pulmonary edema)
(5) Air hunger เป็นการพยายามหายใจโดยใช้ท้ังทางจมูก และปากอย่างรุนแรง พบ ในผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
ชีพจร
-
การประเมินชีพจร
การคลําชีพจรนิยมคลําตามตําแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้าง ๆ กระดูกและมัก เรียกช่ือชีพจรตามตําแหน่งของหลอดเลือดที่จับได
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
1) อัตรา (Rate) การเต้นของชีพจร จํานวนครั้งของความรู้สึกที่ได้จากคลื่นบนหลอด เลือดแดงกระทบนิ้วหรือการฟังที่ Apex ของหัวใจในเวลา 1 นาที หน่วยเป็นครั้ง/นาที อัตราการเต้นของ ชีพจรปกติ
2) จังหวะ (Rhythm) การเต้นชีพจร จังหวะและช่วงพักของชีพจร ชีพจรจะเต้นเป็น
จังหวะ และมีช่วงพักระหว่างจังหวะ
3) ปริมาตรความแรง (Volume) ความแรงของชีพจรขึ้นอยู่กับปริมาตรของเลือดในการ กระทบผนังของหลอดเลือดแดงการจับชีพจรได้ด้วยการกดนิ้วลงตรงบริเวณหลอดเลือดแดงผู้จับจะรู้สึก
4) ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด ปกติผนังหลอดเลือดจะมีลักษณะตรงและเรียบ
มีความยืดหยุ่นดี ในผู้สูงอายุผนังหลอดเลือดแดงมีความยืดหยุ่นน้อยขรุขระ และไม่สม่ำเสมอ