Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
เภสัชจลนศาสตร์
การกระจายตัวของยา (Drug distribution)
ยาจะสามารถกระจายตัวได้อย่างเต็มที่หากอยู่ในรูปของโมเลกุลอิสระ
การจับตัวของยากับ plasma protein
หากจับกันน้อย = มีการออกฤทธิ์ได้ดี
หากจับกันมาก = มีการออกฤทธิ์น้อย
Drug metabolism , Drug biotransformation
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
Phase I reaction
enzyme เปลี่ยงโครงสร้างทางเคมีของยา เป็น Polar metabolism
แล้วขับออกจากร่างกาย
Phase II reaction
ก่อนจะถูกขับออกทางไต ต้องถูกทำให้ละลายน้ำได้ดีก่อน
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
พันธุกรรม
อายุ
เด็กและผู้สูงอายุจะมีความไวต่อพิษและฤทธิ์ยามากกว่าผู้ใหญ่
สิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในการเกิด metabolism
enzyme inhibitor
ยาที่สามารถยับยั้งหรือลดการทำงานของ enzyme cytochrome P450 ในตับ
enzyme inducer
ยาบางชนิดสามารถเพิ่มการสังเคราะ enzyme cytochrome P450 ในตับได้
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา
ขนาดยาที่ให้
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
หากมีตัวยาที่เกิด Frist pass effect (มีหารผ่านตับครั้งแรก) ยาจะสูญเสียการออกฤทธิ์ไปครึ่งหนึ่ง จึงจำเป็นต้องเพิ่มปริมาณและเปลี่ยนการให้ยาในลักษณะอื่นแทน
Drug excretion
ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ผ่านทางไต ตับ น้ำดี และปอด
มีการขับออกทางน้ำปัสสาวะ อุจจาระ น้ำนม หรือการหายใจออก
เภสัชพลศาสตร์
แนวคิด
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยากับการตอบสนองของร่างกาย
การจับของยากับ receptor
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
receptor
Agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วเกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์ไปยับยั้งการทำงานของ Agonist
Partial agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์แค่บางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Duration of action
ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์จนถีงยาหมดฤทธิ์
Half life;t1/2
เวลาที่ใช้ในการทำให้ความเข้มข้นของยาลดลง 50%
โดย Half life เป็นตัวกำหนด
Onset
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาออกฤทธิ์
Loaning dose
ขนาดของยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการใน Plasma
Theraprutic index;TI
ถ้ามีค่า TI ต่ำ = มีความปลอดภัยต่ำ
ถ้ามีค่า TI สูง= มีความปลอดภัยสูง
สุตร TI=LD50/ED50
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy
ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดการออกฤทธิ์สูง
Potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity
ความสามารถของยาในการจับ receptor
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hypersensitivity
การแพ้ยาจากที่ร่างกายมี Antibody ที่ต่อต้านตัวยาที่รับเข้าไป
Tolerance
การดื้อยา จากการได้รับตัวยาเดิมๆซ้ำๆเป็นเวลานาน
Hypereactivity
การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Tachyphylaxis
การดื้อยาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หลังจากได้ตัวยาซ้ำเพียง 2-3 ครั้ง
Hyporeactivity
การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ จนไม่เกิดฤทธิ์การรักษา
Placebo effect
ยาที่มีฤทธิ์หลอก
Idiosyncrasy
การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติ
สาเหตุการตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน
มีคววามแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands
มีการเปลี่ยนแปลงของจำนวนหรือการทำงานของ receptor
มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณยาตามอายุ เพศ ภาวะเจ็บป่วย
รวมถึงการทำงานของตับและไต
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะที่ตอบสนองต่อ receptor