Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, image, ภาณี เอี่ยมฐิริวัฒน์.()…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
อาการชัก
Febrile Convalsion
ชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion (ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion (มีความผิดปกติของสมอง)
ขณะชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด เช่น ยาdiazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก ให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้ (เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
หลังชักซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital , Depakine
Epilepsy
สาเหตุ ได้รับอันตรายจากการคลอด พันธุกรรม โรคติดเชื้อของสมอง
การรักษา ยาระงับอาการชัก ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก Ketogenic diet (ไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ) การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
โรคลมชัก
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
มีความผิดปกติในระบบประสาท
การพยาบาล
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง ไม่ผูกรัดหรือตรึงผู้ป่วย
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ขณะชักให้งดอาหาร น้ำ ทางปาก
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงในรายที่มีอาการชักเกร็ง
ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัวด้วยน้ำธรรมดา หรือน้ำอุ่น
ดูแลให้ได้รับยากันชัก ป้องกันอันตรายจากการเกิดอุบัติเหตุ
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
ความดันในช่องกะโหลกศีรษะสูง
Hydrocephalus
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง จากการผลิตน้ำไขสันหลังมากกว่าปกติ การอุดกั้น การดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการศรีษะโต fontanelle bulging หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำ ตาพล่ามัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง พัฒนาการช้า
การวินิจฉัย
Transillumination test
Ventriculography
การรักษา
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
ติดเชื้อระบบประสาท
Meningitis
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส พยาธิ เชื้อรา
อาการมีไข้ ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ให้ยาลดไข้ ให้ยานอนหลับ ให้ยากันชัก การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน เช่น Hib vaccine , JE vaccine,BCG
Encephalitis
สมองอักเสบ จากเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อปาราสิต วัคซีนป้องกันโรคไอกรน หรือวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
อาการ ไข้สูง ปวดศีรษะ คอแข็ง (Stiffness of neck) ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง ชัก กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การรักษา ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ ยาระงับชัก รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออก ของร่างกาย
Japanese encephalitis (JE)
โรคไข้สมองอักเสบ เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ปวดศีรษะมาก อาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว เกร็งชักกระตุก ระยะฟื้นตัว และมักจะมีความพิการเหลืออยู่
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด หรือน้ำไขสันหลัง
การรักษา ให้ยาลดไข้ ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง การป้องกันหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย รับวัคซีน
การเคลื่อนไหว
Cerebral Palsy
โรคสมองพิการ คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว พูดไม่ได้
พูดไม่ชัด พูดตะกุกตะกัก พูดช้า เป็นต้น
สาเหตุ
ก่อนคลอด ครรภ์ 6-9 เดือน มารดาขาดสารอาหาร มีเลือดออกทางช่องคลอด
ระยะคลอด รกพันคอ ขาดออกซิเจน คลอดท่าก้น
หลังคลอด สมองกระทบกระเทือน ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด การติดเชื้อบริเวณสมอง
อาการ ลักษณะอ่อนปวกเปียก อาจหายใจช้า พัฒนาการช้า เช่น การดูด การกลืน การเคี้ยว ทำให้สำลักนม
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
แนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวัน
ภาณี เอี่ยมฐิริวัฒน์.().อาการชักในเด็ก.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 63 ,สืบค้นจาก
http://www.sukumvithospital.com/content.php?id=58