Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labour)
ความหมาย
การเจ็บครรภ์คลอดตั้งแต่สัปดาห์ที่ 28 ไปจนก่อนอายุครรภ์ครบสัปดาห์ที่ 37
สาเหตุ
ปัจจัยจากหญิงตั้งครรภ์
ปัจจัยส่วนบุคคล
อาจมีภาวะโภชนาการ
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
ฐานะทางเศรษกิจและภาวะทางสังคมต่ำ
ไม่มีคู่สมรส
อายุน้อยกว่า 19 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
ครรภ์แรก
การใช้สารเสพติด
การเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด
การเกิดโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
ปัจจัยด้านทารก
ทารกโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกตายในครรภ์
ทารกอยู่ในภาวะขาดออกซิเจน
ทารกติดเชื้อจากมารดาผ่านทางรก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดหลังส่วนล่างรู้สึกหน่วงๆบริเวณอุ้งเชิงกราน
ปากมดลูกมีการบางตัวและเปิดขยาย
ปวดเกร็งจากการบีบตัวของลำไส้
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาทีและนานอย่างน้อย 30 วินาที
อาจมมีท้องเสีย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มดลูกมีการหดรัดตัว
มีมูกปนเลือดออก
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
ปวดหลังส่วนล่าง รู้สึกหน่วงๆบริเวณอุ้งเชิงกราน
การตรวจร่างกาย
ปากมดลูกบางตัวอย่างน้อย 80 % และเปิดขยายมากกว่า 1 cm.
มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาทีและนานอย่างน้อย 30 วินาที
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ fetal fibronectin (FFN)
U/S
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เกิดการคลอดก่อนกำหนดที่ยับยั้งไม่ได้
ผลกระทบต่อจิตใจ
ต่อทารก
Respiratory distress syndrome
ผลข้างเคียงจากยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การรักษา
การรักษาประคับประคองให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป
นอนพักอย่างเต็มที่
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การให้ยากระตุ้นการทำงานของปอดทารกในครรภ์
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post term pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
สาเหตุ
การคำนวณอายุครรภ์ที่ผิดพลาดจากการจำวันแรกของประจำเดือนสุดท้ายผิด
ปัจจัยด้านอายุพบมากในหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
เกิดจากความผิดปกติของการสร้างสาร prostaglandin หรือจากปากมดลูกไม่ตอบสนองต่อสาร prostaglandin
ปัจจัยด้านทารกเช่นทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง
อาการและอาการแสดง
วัดขนาดรอบท้องได้เล็กลง ยอดมดลูกสูง
ไม่ได้สัดส่วนกับอายุครรภ์ คลำพบทารกได้ชัดเจนและดิ้นน้อยลง
ปริมาณน้ำคร่ำลดลง จากรกเสื่อม ทำให้มดลูกมีขนาดเล็กลง
มารดาน้ำหนักลดลงมากกว่า 1 kg. ในสัปดาห์สุดท้าย
ผลกระทบ
ต่อมารดา
การได้รับการช่วยคลอดโดยใช้หัตถการ
ตกเลือดหลังคลอด
คลอดยากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ทารกคลอดยาวนาน
ต่อทารก
ภาวะขาดออกซิเจน
Cord compression
IUGR
Oligohydramnios
ได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด
การรักษา
กระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดโดยให้ prostaglandin เหน็บช่วงคลอด
ติดตามฟังเสียงหัวใจทารกตลอดระยะการคลอด
ตรวจสอบอายุครรภ์ตั้งแต่การฝากครรภ์ครั้งแรก
ให้หัตถการช่วยคลอด เมื่อมีข้อบ่งชี้ที่เหมาะสม
ลักษณะของทารก
เจริญเติบโตช้า มีภาวะขาดน้ำ กะโหลกศีรษะแข็ง
ไม่มีไขมันและขนอ่อนตามตัว
ผิวหนังแห้ง แตก ย่น เป็นแผ่นหนัง แขนขายาว
สายสะดือและเนื้อเยื่อมีสีน้ำตาลปนเขียว หรือ น้ำตาลปนเหลือง
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด (PROM)
ความหมาย
การมีถุงน้ำคร่ำรั่ว หรือแตกขึ้นเองก่อนเข้าสู่ระยะเจ็บครรภ์จริง
สาเหตุ
ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
ทารกในครรภ์มีท่าหรือส่วนนำผิดปกติมี CPD
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนด หรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
Incompetent cervix มดลูกพิการ
การติดเชื้อ ทำให้เกิดถุงน้ำคร่ำอ่อนแอ และเกิดการแตกหรือรั่วได้
การวินิจฉัย
ให้หญิงตั้งครรภ์ไอเก็บน้ำที่ได้จาก Posterior formix ตรวจ Nitrazine test
ตรวจ Fern test (Arborization)
ประวัติมีน้ำไหลออกช่องคลอดตรวจทางช่องคลอดโดยใช้ Specutum
การตรวจ Ultrasound
การตรวจดูปริมาณน้ำคร่ำในถุงน้ำคร่ำ
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
กลไกลการเกิด Internal rotation และ Extension หยุดชะงัก เกิดการคลอดแท้ง
การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มทารก (Chorioamnionitis)
ต่อทารก
การติดเชื้อจากถุงน้ำคร่ำแตกเป็นเวลานาน
มีภาวะหายใจล้มเหลวจากคลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะขาดออกซิเจนจากสายสะดือพลัดต่ำ สายสะดือถูกกด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์และมีความพิการของหน้าแขนขาของทารก
การรักษา
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดถ้านานมากกว่า 48 ชั่วโมงควรผ่าตัดคลอดทารกออกทางหน้าท้อง
รายที่ไม่มีการติดเชื้อ GA น้อยกว่า 37 wks ให้นอนพักในโรงพยาบาลเฝ้าระวังการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะรายที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกมีอัตราการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติระหว่างอยู่ในครรภ์มารดา เกณฑ์การวินิจฉัยที่นิยมใช้มากที่สุดคือทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 10 ของอายุครรภ์นั้น ๆ
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
ทารกที่มีขนาดเล็กตามธรรมชาติ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์เป็นทารก SGA
การเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน asymmetrical IUGR หรือ type 2
การเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน (Combined type)
การเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน (Symmetrical IUGR หรือ type 1)
สาเหตุ
จากมารดา
น้ำหนักมารดาขึ้นน้อย ภาวะโลหิตจางรุนแรง
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ภาวะขาดอาหาร
โรคทางหลอดเลือดของมารดา
จากรกและสายสะดือ
รกเสื่อมสภาพ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
สายสะดือเกาะที่ขอบรกและที่เยื่อหุ้มรก
จากตัวทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อในครรภ์
ผลกระทบ
ต่อทารก
แคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia)
ความเข้มข้นของเลือดสูง (polycythemia)
น้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
บิลลิรูบินในเลือดสูง (hyperbilirubinemia)
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ การตายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
ต่อมารดา
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอด
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเพิ่มภาระในการเลี้ยงดู
ส่งผลกระทบด้านจิตใจ
การดูแลรักษา
ระยะคลอด
ตัดสินใจให้คลอดโดยดูปัจจัยสำคัญคืออายุครรภ์สุขภาพทารกและความรุนแรงของโรค
เลือกวิธีการคลอดทางช่องคลอดผ่าตัดคลอดหากมีข้อบ่งชี้
ระยะหลังคลอด
ดูดเอา secretion ออกรีบ clamp สายสะดือป้องกันเลือดไหลเข้าตัวทารกมากเกินไป
keep warm
เตรียมการป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ตรวจร่างกายค้นหาการติดเชื้อในครรภ์และความพิการแต่กำเนิด
เฝ้าระวังภาวะ hypoglycemia
ติดตามการเจริญเติบโตในระยะยาวต่อไป
ระยะก่อนคลอด
แนะนำให้นอนพัก
ตรวจติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ตรวจหาปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขสาเหตุของ IUGR