Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพจร - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพจร
สัญญาณชีพจร
ข้อบ่งชี้ในการวัด
สัญญาณชีพ
ก่อนและหลังการผ่าตัด
ก่อนและหลังการผ่าตรวจวินิฉัยโรคที่
ต้องใส่เครื่องมือเข้าไปในร่งกาย
วัดตามระเบียบแผนที่ปฏิบัติ
ก่อนและหลังหารให้ยาบางชนิด
ที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด
เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
ร่างกายผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ 12-20ครั้ง/นาที
อุณหภูมิ 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ความดันโลหิต Systolic 90-140
Diastolic 60-90
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ(Vital signs) เป็นสิ่งที่แสดงทราบถึงสิ่งมีชีวิต
พบได้จาก อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิตสูง
ชีพจร
ปัจจัยที่มีผลต่อ
การเต้นของชีพจร
การออกกำลังกาย
ยา ยาบางชนิด
อายุ เพศ อารมณ์
ภาวะเสียเลือด
การประเมินชีพจร
4.ประเมินชีพจรใช้เวลา 1นาที สังเกตจังหวะการเต้น
5.บันทึกลงกระดาษที่เตรียมไว้ และบับทึกแบบฟอร์มต่อไป
3.วางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลางนิ้วนางแตะลงเบาๆ
6.ล้างมือให้สะอาด
2.บอกผู้ป่วยทราบและขออนุญาตจับต้องผู้ป่วย
1.ล้างมือให้สะอาด
ความหมาย
การหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด
เกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
จังหวะ (Rhythm) จังหวะแต่ละช่วงพักไม่สม่ำเสมอ
ปริมาตรความแรง (Volume)
อัตรา (Rate)การเต้นของชีพจร
เช่นอัตราการเต้นหัวใจเร็ว มากว่า100ครั้ง/นาที
การหายใจ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงอารมณ์และสิ่งแวดล้อม
อิทธิพลจากความเจ็บป่วย
การประเมินการหายใจ
4.นับอัตราการหายใจสังเกตความลึก
จังหวะ ลักษณะการหายใจ
5.ประเมินการหายใจเต็ม 1 นาที
3.เริ่มนับการหายใจโดยการประเมิณชีพจรเสร็จแล้ว
6.บันทึกลงกระดาษและบันทึกในแบบฟอร์มต่อไป
2.บอกให้ผู้ป่สยทราบ และขออนุญาตจับต้องผู้ป่วย
7.ล้างมือให้สะอาด
1.ล้างมือให้สะอาด
ความหมาย
และนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอด
การนำออกซิเจนเข้าสู่ปอด
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
ความลึกของการหายใจ เช่นหายใจเร็ว ตื้น
ลักษณะการหายใจปกติเช่นDyspnea
หายใจลำบากการหายใจต้องใช้แรงมาก
จังหวะของการหายใจเช่น Cheyne stokes
หายใจเป็นช่วงๆ ไม่สม่ำเสมอ
ลักษณะเสียงหายใจที่ผิดปกติเช่น Stridor เสียงฟีด
อัตราเร็วของการหายใจ เช่นหายใจเร็วมากกว่า 24ครั้ง/นาที
สีของผิวหนังที่ผิดปกติเช่น Cyanosis
กระบวนการพยาบาลใน
การประเมินสัญญาณชีพ
การวางแผน
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น
ป้องกันอาการชักจากภาวะไข้สูง
การปฏิบัติ
การพยาบาล
3.ดูแลให้น้ำอย่างเพียงพอ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ อากาศถ่ายเท
2.เช็ดตัวลดไข้ใช้น้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
1.ประเมินสัญญาณชีพ อุณหภูมิ ชีพจร หายใจ ความดันโลหิต
ให้ยา Paracetmol ตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทาง
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากอุณหภูมิในร่างกายสูง
มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
การประเมินผลสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพอยู่เกณฑ์ปกติ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดใส
การประเมินสภาพ
ตรวจร่างกาย และประเมินสัญญาณชีพ
จากผลตรวจห้องปฏิบัติการ
ซักประวัติการสัมผัสเชื้อ ระยะเวลา
อุณหภูมิของร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อ
อุณหภูมิของร่างกาย
การออกกำลังกาย
อารมณ์
อายุ
ฮอร์โมน
การประเมินอุณหภูมิ
ของร่างกาย
การวัดอุณหภูมิทางปาก (Oral temperature)
การวัดอุณหภูมิทางรักแร้ (Axillary temperature)
การวัดอุณหภูมิใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (Electromic temperature)
การวัดอุณาหภูมิทางทวารหนัก ( Rectal temperature)
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้าง
ความร้อน และการระบาย
ความร้อนออกจากร่างกาย
กลไกของร่างกาย (Physiologi mechanisms)
กลไกของการเกิดพฤติกรรม(Behavioral mechanism)
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติ
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
ความดันโลหิต
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความดันโลหิต
อริยาบถขณะวัดความดันโลหิต
และการออกกำลังกาย
ความเรียคและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
อายุ
ลักษณะของร่างกาย ได้แก่ รูปร่าง เพศ ยา
การประเมิน
ความดันโลหิต
มีว้ตถุประสงค์เพื่อช่วยในการวินิจฉัย
เพื่อทราบปริมาณของเลือด
ความหมาย
แรงดันของเลือดที่ไปกระทบ
กับผนังเส้นเลือดแดง
มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท
ลักษณะความดัน
โลหิตที่ผิดปกติ
Hypertension ความดันโลหิตสูง
Systolic สูงกว่า140 mmHg
Diastolic สูงกว่า 90mmHg
Hypotension ความดันโลหิตต่ำSystolic น้อยกว่า90 mmHg
Diastolic น้อยกว่า 60mmHg