Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
ชีพจร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
อายุ
อายุเพิ่มขึ้นอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง
ผู้ใหญ่อัตราการเต้นของชีพจร60-100 ครั้งต่อนาที
เพศ
หญิงจะเร็วกว่าชายเล็กน้อย
ช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่
การออกกำลังกาย
ภาวะไข้
ยา ยาบางชนิด
ยา Digitalis
อารมณ์
ความกลัว ความโกรธ
ความวิตกกังวล การรับรู้ความเจ็บปวด
ท่าทาง
ท่ายืนหรือนั่งชีพจรจะเต้นเร็วขึ้น
ท่านอนชีพจรจะช้าลง
ภาวะเสียเลือด
การหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด
การประเมินชีพจร
คลำตามตำแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้าง ๆ
Radial pulse อยู่ที่ข้อมือด้านนิ้วหัวแม่มือ
เป็นตำแหน่งที่ง่ายต่อการจับและสะดวกสำหรับผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ประเมินอัตรา จังหวะ และความแรงในการเต้นของชีพจรใน 1 นาที
ตรวจสอบการทำงานของหัวใจเบื้องต้น
อุปกรณ์
นาฬิกาที่มีเข็มวินาที
ปากกาน้ำเงินและแดง
กระดาษและแบบฟอร์มบันทึก
วิธีการปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด
บอกให้ผู้ป่วยทราบและขออนุญาตจับต้องตัวผู้ป่วย
พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบา ๆ ตรง Radial artery ของผู้ป่วย
ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งที่ต้องสังเกต คือ อัตรา (จำนวน/ต่อนาที) จังหวะ
การเต้นมีความสม่ำเสมอ และปริมาตรความแรง (เบาหรือแรง)
การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจ
ต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจ
บันทึกลงกระดาษที่เตรียมไว้และบันทึกในแบบฟอร์ม
ล้างมือให้สะอาด
ข้อควรจำในการวัดชีพจร
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลำชีพจร
เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือเต้นแรง
วัดชีพจรผู้ป่วยหลังทำกิจกรรม 5-10 นาที
อธิบายแนะนำให้ผู้ป่วยไม่ควรพูดขณะวัดชีพจร
เพราะจะรบกวนการได้ยินเสียง
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา (Rate) การเต้นของชีพจร
ภาวะที่อัตราการเต้นของหัวใจ
ในผู้ใหญ่มากกว่า 100 ครั้ง/นาที
Tachycardia
ภาวะที่อัตราการเต้นของหัวใจ
ในผู้ใหญ่น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
Bradycardia
จังหวะ (Rhythm) การเต้นชีพจร
จังหวะของชีพจรปกติ
มีช่วงพักระหว่างจังหวะเท่ากัน
ชีพจรเต้นสม่ำเสมอ
เรียกว่า Pulse regularis
จังหวะของชีพจรผิดปกติ
เต้นไม่เป็นจังหวะแต่ละช่วงพักไม่สม่ำเสมอ
ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ
มีจังหวะการเต้นสม่ำเสมอสลับกับไม่สม่ำเสมอ
ปริมาตรความแรง (Volume)
ความแรงของชีพจรขึ้นอยู่กับปริมาตรของเลือดในการ
กระทบผนังของหลอดเลือดแดง
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด
ผู้สูงอายุผนังหลอดเลือดแดงมีความยืดหยุ่นน้อย
ขรุขระ และไม่สม่ำเสมอ
กระบวนการพยาบาลในการประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติการสัมผัสเชื้อ ระยะเวลา การรักษาก่อนมาโรงพยาบาล
ตรวจร่างกาย และประเมินสัญญาณชีพ
จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจพิเศษ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากอุณหภูมิร่างกายสูง
มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยมีอุณหภูมิร่างกายปกติ
ป้องกันอาการชักจากภาวะไข้สูง
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
เช็ดตัวลดไข้โดยใช้น้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
เพื่อชดเชยปริมาณสารน้ำที่สูญเสีย
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ให้ยา Paracetmol ลดไข้
การประเมินผลสัญญาณชีพ
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน
อุณหภูมิของร่างกาย
°C = (°F – 32)
1.8
ใส่รูป
อุณหภูมิส่วนแกนกลาง (Core temperature)
อุณหภูมิของเนื้อเยื่อชั้นลึก
ศีรษะ (Cranium)
ทรวงอก (Thoracic)
ช่องท้อง (Abdominal cavity)
ท้องน้อย (Pelvic cavity)
อุณหภูมิผิวนอก (Surface temperature)
อุณหภูมิเนื้อเยื่อชั้นผิว
หลอดเลือดส่วนปลายและอวัยวะส่วนปลาย
แขน ขา
อุณหภูมิผิวนอกขึ้น-ลดลงตามสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างความร้อน และการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
กลไกของร่างกาย (Physiological mechanisms)
การเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
อัตราการใช้พลังงานของร่างกาย
การทำงานของกล้ามเนื้อ
การนำความร้อน (Conduction)
การระบายความร้อนโดยอาศัยสื่อ
ร่างกายต้องสัมผัสโดยตรงกับสิ่งที่เย็นกว่า
การดื่มน้ำขณะมีไข้
การพาความร้อน (Convection)
การระบายความร้อนโดยอาศัย
ตัวกลาง
การเช็ดตัวขณะีไข้
การแผ่รังสี (Radiation)
การส่งผ่านความร้อนในรูปของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า
การระเหยเป็นไอ (Evaporation)
การระบายความร้อนออกมา
โดยการระเหยจากพื้นผิวของร่างกาย
การระบายความร้อนออกมา
โดยการระเหยของน้ำไปเป็นไอ
กลไกของการเกิดพฤติกรรม
(Behavioral mechanism)
การถอดเสื้อผ้า
สิ่งตกแต่งที่ทำให้อุ่น
การลดกิจกรรมต่าง ๆ
เคลื่อนย้ายไปอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เย็น
การหายใจ
การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนแลคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือด กับเซลล์ของเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกาย
การประเมินการหายใจ
นับอัตราการหายใจเข้าและออก
การหายใจ 1 ครั้งไปจนครบ 1 นาทีเต็ม
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
อัตราเร็วของการหายใจ
Tachypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ มากกว่า 24 ครั้ง/นาที
Bradypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ น้อยกว่า 10 ครั้ง/นาที
Apnea การหยุดหายใจ
ความลึกของการหายใจ
Hypoventilation เป็นการหายใจช้าและตื้น
Hyperventilation เป็นการหายใจเร็วและลึก
จังหวะของการหายใจ
Cheyne stokes เป็นการหายใจเป็นช่วง ๆ ไม่สม่ำเสมอ
Biot เป็นการหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก
ลักษณะของการหายใจปกติ (Eupnea)
Dyspnea เป็นอาการหายใจลำบาก
Orthopnea เป็นอาการหายใจลำบากในท่านอนราบ
Paroxysmal nocturnal dyspnea
อาการหายใจลำบากในตอนกลางคืน
Paroxysmal dyspnea เป็นอาการหอบอย่างรุนแรง
Air hunger เป็นการพยายามหายใจ
โดยใช้ทั้งทางจมูก และปากอย่างรุนแรง
ลักษณะเสียงหายใจที่ผิดปกติ
Stridor เสียงฟืด
Wheeze เป็นเสียงวี๊ดได้ยินขณะหายใจออก
สีของผิวหนังที่ผิดปกติ
Cyanosis พบเยื่อบุและผิวหนังมีสีม่วงคล้ำ
บ่งชี้ถึงการขาดออกซิเจน
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต
สังเกตและตรวจ
อุณหภูมิ
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
อวัยวะของร่างกายที่สำคัญต่อชีวิต
หัวใจ
ปอด
สมอง
ระบบไหลเวียนเลือด
ระบบหายใจ
ข้อบ่งชี้ในการวัดสัญญาณชีพ
เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
วัดตามระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติของโรงพยาบาล
ก่อนและหลังการผ่าตัด
ตามแผนการรักษาของแพทย
ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรค
ที่ต้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
ก่อนและหลังให้ยาบางชนิด
มีผลต่อหัวใจ
หลอดเลือด
การหายใจ
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ร่างกายผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
ความรู้สึกตัวลดลง
มีความรุนแรงของอาการปวดเพิ่มขึ้น
ก่อนและหลังการให้การพยาบาล ที่มีผลต่อสัญญาณชีพ
ก่อนให้ผู้ป่วยที่เดิม Bed rest
ก่อนให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร = 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ = 12-20 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic = 90-140 mmHg
Diastolic = 60-90 mmHg
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของร่างกาย
ความผันแปรในรอบวัน
เวลาระหว่างวันอุณหภูมิร่างกายปกติจะมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวัน
เปลี่ยนแปลงได้มากถึง 2.0˚ C (3.6˚F)
อายุ อุณหภูมิร่างกายของเด็กทารกแรกเกิดจะไม่คงที่
ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ
ของร่างกายยังทำงานไม่เต็มที่
การออกกำลังกาย
พลังงานความร้อนจะถูกผลิต
มีการทำงานเพิ่มขึ้นของระบบอื่น ๆ
ระบบไหลเวียน
ระบบหายใจ
อารมณ์
ความเครียดจะทำให้ไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติก
เพิ่มการหลั่ง Epinephrine
เพิ่มการหลั่ง Nor-epinephrine
พิ่มอัตราการเผาผลาญภายในเซลล์ (BMR)
มีการผลิตความร้อนเพิ่มมากขึ้น
ฮอร์โมน
เพศหญิงมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกายมากกว่าเพศชาย
สิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิของสภาพแวดล้อม สามารถเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของร่างกาย
หากร่างการสัมผัสเป็นเวลานาน
ภาวะโภชนาการและชนิดของอาหารที่รับประทาน
คนผอมมากจะมีเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
และไขมันน้อย
อุณหภูมิร่างกายต่ำได้
รับประทานเครื่องดื่มร้อนหรือเย็น
อุณหภูมิภายในช่องปากเปลี่ยนแปลงได
การติดเชื้อในร่างกาย
แบคทีเรีย
การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
การวัดอุณหภูมิทางปาก (Oral temperature)
นิยมใช้มากที่สุด
ปรอทวัดไข้ชนิดอมในปาก
แท่งแก้วบรรจุปรอท (Mercurial temperature)
ปรอทที่เป็นดิจิทัลบอกค่าตัวเลข
การวัดอุณหภูมิทางรักแร้ (Axillary temperature)
ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถวัดอุณหภูมิ
ทางปากและทางทวารหนัก
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ค่าอุณหภูมิที่วัดได้จะต่ำกว่าค่าอุณหภูมิทางปาก
0.5-1˚ C
สามารถวัดได้ทุกช่วงวัย
ปลอดภัยและแพร่เชื้อจุลินทรีย์น้อย
ข้อเสีย ต้องใช้เวลานาน 5 นาทีขึ้นไป
การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก (Rectal temperature)
ได้ค่าเที่ยงที่สุด
วัดในเด็กเล็กที่ไม่สามารถอมปรอทได้
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์
Electronic temperature
การวัดทางหู
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แก้วหูทะลุ
ห้ามใช้ในผู้ป่วยมีรอยแผลที่แก้วหู
ห้ามใช้ในผู้ป่วยมีขี้หูหรือมีหูน้ำหนวก
การวัดทางผิวหนัง
หน้าผาก หลังใบหู ซอกคอ
ใช้เทอร์โมมิเตอร์สัมผัสแล้วอ่านค่าที่วัดได้
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดปกติ
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ (Hyperthermia)
ระยะเริ่มต้น หรือระยะหนาวสั่น
ระยะไข้
ระยะสิ้นสุดไข้
การลูบตัวลดไข้
การลูบตัวด้วยน้ำธรรมดา (Tepid sponge)
การลูบตัวด้วยน้ำเย็นจัด (Cold sponge)
การลูบตัวด้วยน้ำอุ่น (Warm sponge)
การเช็ดตัวด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol sponge)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
ให้ผู้ป่วยพักผ่อน
ควรจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมแก่การพักผ่อน
จัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ (Tepid sponge bath)
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดไข้ตามแผนการรักษาของแพทย์
วัดอุณหภูมิร่างกายภายหลังการเช็ดตัว หรือหลังให้ยาลดไข้ 30 นาที
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นในระยะที่มีอาการหนาวสั่น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่มีโปรตีน และคาร์โบไฮเดรตสูง
แนะนำให้ดื่มน้ำมาก ๆ ในรายที่ไม่มีข้อห้าม
บันทึกปริมาณน้ำเข้า-น้ำออก
ดูแลช่องปากให้เยื่อบุชุ่มชื้นทำความสะอาดช่องปากบ่อย ๆ
เตรียมเสื้อผ้าแห้งให้ผู้ป่วยใส่เพื่อระบายความร้อนได้ดี
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกาย
อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ (Hypothermia)
ต่ำกว่า 36 °C (97° F)
ร่างกายสูญเสียความร้อนมากไป
ผลิตความร้อนไม่สมดุลกับการสูญเสียความร้อน
ศูนย์ควบคุมความร้อนในไฮโปธาลามัสเสียหน้าที่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น
เพิ่มความหนาของผ้าห่มหรือจำนวนผ้าห่ม
วางกระเป๋าน้ำร้อนหรือผ้าห่มไฟฟ้า
คลุมหรือโพกศีรษะด้วยผ้าขนหนูผืนใหญ่
ให้ดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มอุ่นๆ
ถูและนวดผิวหนัง
ถ้าเป็นเด็กเล็กอาจใช้การโอบกอดเพื่อได้รับไออุ่นจากผู้สวมกอด
ให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย โดยการอยู่กับผู้ป่วย
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ความดันโลหิต
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิต
แรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง
ค่าความดันโลหิตปกติในแต่ละบุคคลไม่เท่ากัน
อายุ
เด็กแรกเกิดจะมี Systolic pressure ประมาณ 40-70 มิลลิเมตรปรอท
ผู้ใหญ่ปกติจะมี Systolic pressure
ระหว่าง 90-140 มิลลิเมตรปรอท
ผู้สูงอายุความดันโลหิตจะสูงขึ้นเนื่องจากความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง
อิริยาบถขณะวัดความดันโลหิตและการออกกำลังกาย
ความเครียดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
ลักษณะของร่างกายและปัจจัยอื่น ๆ
รูปร่าง คนอ้วนความดันโลหิตมักสูงกว่าคนผอม
เพศ
ยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของหลอดเลือด
การประเมินความดันโลหิต
การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง
ใส่สายสวนเข้าไปใน Superior vena cava
ใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
การวัดความดันโลหิตโดยทางอ้อม
วิธีการฟัง
วิธีการคลำ
ลักษณะความดันโลหิตที่ผิดปกติ
Hypertension ความดันโลหิตสูง
Systolic สูงกว่า 140 mmHg
Diastolic สูงกว่า 90 mmHg
มีอาการปวดศีรษะ บริเวณท้ายทอย
ตาพร่า หรือมองไม่เห็น
คลื่นไส้อาเจียน ชักและหมดสติในที่สุด
Hypotension ความดันโลหิตต่ำ
Systolic ต่ำกว่า 90 mmHg
Diastolic ต่ำกว่า 60 mmHg
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
หน้าซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นลมหมดสติ
Orthostatic hypotension ความดันโลหิตตกในท่ายืน
การเปลี่ยนจากท่า
นอนราบเป็นท่ายืนทันที