Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินของระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG Interpretation)
1.1 การจำแนกความผิดปกติของหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความผิดปกติของ automaticity เป็ นผลมาจากจุดกาเนิดของเซลล์ที่เป็นตัวกระตุ้นหัวใจในกล้ามเนื้อหัวใจ (pacemaker)
ความผิดปกติจาก Conduction เกิดการปิ ดก้นั ทางเดินกระแสไฟฟ้าเกิดการส่งกระแสไฟฟ้าช้าหรือหยดุ การส่งสญั ญาณ ทาใหค้ ลื่นไฟฟ้าหวั ใจกวา้ งกวา่ ปกติ มีผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ความผิดปกติจาก Reentry of impulse มีการกระตุน้ กลา้ มเน้ือ หัวใจด้วยกระแสไฟฟ้าเดิม เกิดการไหลวนของกระแสไฟฟ้า ทาให้เกิดการกระตุน้ การเตน้ ของหัวใจก่อนกาหนด ทาให้เกิด ectopic beats และ ectopic rhythms
1.2 การประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจในภาวะวิกฤต
วิธีการอ่านด้วย paddle สามารถทาไดอ้ ย่างรวดเร็วโดยไม่ตอ้ งทา electrode gel มักจะใช้ในกรณีที่คาดว่าผูป่วยอาจเป็ นหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง (pulseless Ventricular tachycardia: VT)
การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบติดหน้าอก 3 จุด
Standard 12 lead EKG
1.3 ประเภทของหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นเร็ว (tachy arrhythmia)
Sinus tachycardia
Atrial fibrillation
Atrial flutter
Paroxysmal supraventricular tachycardia: pSVT
Pulse Ventricular tachycardia
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นช้า (brady arrhythmia)
Sinus bradycardia
First degree AV block
Second degree AV block type I (wenckebarch block)
Second degree AV block type II
Third degree AV block
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหัวใจหยุดเต้ น (Asystole หรื อ cardiac standstill)
Pulseless Electrical Activity (PEA)
Ventricular fibrillation (VF)
Ventricular tachycardia (VT)
การรักษา ใหก้ ารช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ยาตามมาตรฐานการทำdefibrillation เป็นสิ่งที่สำคัญและต้องทำในเวลาที่รวดเร็ว
การกู้ชีวิต(Cardiac Life Support)
รูปแบบการดูแลและการรักษาในการช่วยชีวิต
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic life support: BLS)
การกดหน้าอก
การเปิดทางเดินหายใจ
การช่วยหายใจขั้นพื้นฐาน
การช็อกไฟฟ้าหัวจแบบอัตโนมัติ (Automated external defibrillation)
การกู้ชีวิตขั้นสูง(Advanced Cardiac Life Support: ACLS)
การหาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
6Hs
ปริมาตรเลือดน้อย (Hypovolumia)
ภาวะออกซิเจนในเลือดน้อย (Hypoxemia)
ภาวะเลือดเป็ นกรด (Hydrogen ion /acidosis)
ภาวะโปแตสเซียมต ่าหรือสูง (Hypo-/hyperkalemia)
ภาวะน้าตาลต่า (Hypoglycemia)
ภาวะอุณหภูมิกายต ่า (Hypothermia)
6Ts
ลิ่มเลือดอุกก้นั หลอดเลือดหวั ใจ (Thombosis, cadiac)
ลิ่มเลือดอุกก้นั หลอดเลือดปอด (Thombosis, pulmonary)
ภาวะหัวใจถูกบีบรัด (Temponade, cardiac)
ภาวะปอดถูกกดทับ (Tension pneumothorax)
การได้รับสารพิษ (Toxins)
การบาดเจ็บ (Trauma)
กฏหมายและจริยธรรมในการปฏิบัติการช่วยชีวิต
การเคารพสิทธิผู้ป่ วย ข้อ 4 คือ ผูป้ ่ วยที่อยใู่ นภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอนั ตรายมีสิทธิที่จะไดร้ ับความช่วยเหลือรีบด่วนจากผูป้ ระกอบวิชาชีพโดยทนั ทีตามความจาเป็ นโดยไม่คานึงว่าผูป้ ่ วยจะร้องขอหรือไม
การเคารพความเป็ นเอกสิทธ์ิของบุคคล
การรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะในภาวะวกิฤตและฉุกเฉิน
การรักษาด้วยยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ
1) Epinephrine (Adrenaline) 1:1000 ใช้ในผู้ป่ วย cardiac arrest: VF, VT, asystole, PEA เพื่อเพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ผลข้างเคียง
อาจทำให้กลา้ มเน้ือหวั ใจตอ้ งการใชอ้ อกซิเจนมากข้ึนเนื่องจากยาจะไปเพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหวั ใจ
2) Adenosine เป็ น endogenous purine nucleoside ซ่ึงออกฤทธ์ิระงบั กิจกรรมของ AV node และsinus node ท าให้หัวใจเต้นช้าลง ข้ อบ่ งใช้ ผู้ป่ วย stable และคลื่นไฟฟ้ าหัวใจเป็ นแบบ narrow complex regular tachycardia เช่น SVT
ผลข้างเคียง
hypotension, bronchospasm
3) Amiodarone ออกฤทธ์ิต่อ channel ที่ใช้ขนส่งโซเดียม โปแตสเซียม และแคลเซียม และมีฤทธิ์ ระงับ alpha และbeta adrenergic ดว้ ยยาน้ีแนะน าให้ใช้รักษา tachyarrhythmia
ผลข้างเคียง
bradycardia, hypotension, phlebitis
4) Digoxin ออกฤทธ์ิ เป็ น positive inotopes ท าให้AV conduction ช้าลง ข้ อบ่ งใช้ stable narrow complex regular tachycardia, ควบคุม ventricular rate ใน atrial fibrillation
ผลข้างเคียง
bradycardia
5) Verapamil และDiltiazem ออกฤทธ์ิชะลอการนาไฟฟ้าผ่าน AV node และลดอัตราการเต้นของหัวใจ
6) Dopamine ขนาดที่ให้15-20 มก. ทางหลอดเลือดด า ในผู้ป่ วยที่มีภาวะ hypotension และbradycardia
7) Lidocaine ยับยัง sodium channel ข้อบ่งใช้ monomorphic VT
การรักษาด้วยไฟฟ้า
1) การใช้กระแสไฟฟ้าในการช็อกไฟฟ้าหัวใจ (Defibrillation)
ข้อบ่งชี้
ใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ VF และ pulseless VT เพื่อท าให้จังหวะการเต้นของหัวใจกลับมาปกติ ให้เร็ วที่สุ ด
2) การทำ synchronized cardioversion
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติจนทำให้เกิดอาการความดันโลหิตต่ำ การไหลเวียนล้มเหลว
3) การรักษาด้วยการท า cardiac pacing
ข้อบ่งชี้
ใช้ในการกระตุ้นหัวใจด้วยพลังงานไฟฟ้าในกรณีที่หัวใจเต้นช้าแบบ second AV block mobitz type II, complete heart block, Junctional bradycardia
แบบแผนการช่วยชีวิตผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น
(Pulseless cardiac arrest Algorithm)
1) แบบแผนการช่วยชีวิตแบบไม่มีชีพจร (Pulseless arrest)
การกดหน้าอกให้เร็วที่สุดก่อนจึงจะช่วย
การวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจหากต้องทำการช็อก (VT,VF) ให้ทำการช็อกให้เร็วที่สุด
ยาที่ใช้ไดแ้ ก่ epinephrine และ antiarrhythmic drug เช่น amiodarone
การหาสาเหตุและแก้ไขอย่างรวดเร็ว
แบบแผนการช่วยชีวิตผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia Algorithm)
แบบแผนการช่วยชีวิตผู้ป่วยที่มีหัวใจเต้นช้า
(Bradycardia Algorithm)
แบบแผนการดูแลผู้ป่วยภายหลังการช่วยชีวิตสำเร็จ
(Post cardiac arrest care algorithm)