Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
บทที่ 2 ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
เป็นการควบคุมอวัยวะภายใน โดยการประสานการทำงานร่วมกันของ ANS ประกอบด้วย 2 ระบบ
ระบบประสาทซิมพาเทติก
2.ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
สารสื่อประสาทและตัวรับในระบบประสาทอัตโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เรียกว่า Cholinergic agents
3.สารสื่อประสาทในระบบโซมาติก จะมีเส้นประสาทที่ไปยังกล้ามเนื้อลายซึ่งหลัง ACH ออกฤทธิ์ที่ Nicotinic receptor กล้าเนื้อลาย
สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติก เรียกว่า Adrenergic agents
การแบ่งประเภทของ Adrenergic recepter
α 1 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทางเดิมปัสสาวะ ยกเว้นระบบทางเดิมอาหารทำให้การยับยั้งการเคลื่อนไหว
α 2 พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื่อเยื่อต่างๆ
β 1 พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว อัตราการเต้นของหัวใจ
β 2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดิมปัสสาวะ
β 3 พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
การแบ่งประเภทของ Cholinergic recepter
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
M 1 พบที่สมอง Peripheral neuron และ Gastric parietal
M 2 พบที่หัวใจและบางส่วนของ Peripheral neuronการกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบยับยั้ง
M3 พบได้ตามต่อมมีท่อต่างๆ
M5 พบที่ Dopamine neuron
M4 พบที่ระบบประสาท
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
1.ยาโคลิเนอร์จิก
1.1 Cholinergic agonist
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ Muscarinic และ Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ต่อระบบร่างกายที่สำคัญมีดังนี้
ระบบไหลเวียนเลือด
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
4.ระบบทางเดินอาหาร
5.ฤทธิ์ต่อตา
ระบบประสาทส่วนกลาง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ
ใช้รักษาต้อหิน
ใช้รักาาอาการท้องอืด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
อาการมึนเมาเวียนศรีษะ
เป็นลม
อาเเจียน
มีน้ำมูก น้ำตาไหล
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยเป็นโรคหืด
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
1.2 Anticholinesterase agent
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Acetylcholinesterase
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
มีผลต่อ muscarinic receptor
2.มีผลค่อ Nicotinic receptor
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia gravis
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่่เป็น competitive antagonist
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้ กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
รักษา Alzheimer disease
อาการข้างเคียง
รูม่านตาเล็ก
หัวใจเต้นช้า
หายใจลำบาก
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เหงื่ออกมาก
ยาต้านมัสคารินิค
กลไกการออกฤทธิ์
Atropine เป็น muscarinic antagonists ออกฤทธิ์แย่งที่กับ ACH ในการจับ muscarinic receptor แบบแข่งขัน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินหายใจ
4.กล้ามเนื้อเรียบ
ระบบทางเดินอาหาร
5.ต่อมเหงื่อ
ระบบตา
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การนำไปใช้ทางคลินิก
5.ใช้เป็นนาขยายหลอดลม
6.ใช้เป็นยาเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รม่านตาขยาย
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสัน
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
2.ใช้เป็น Antispasmodics ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
9.ใช้เป็นยาป้องกันและรักษาอาการเมารถ เมาคลื่น
1.Antisecretory รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
10 ใช้เป็นยาต้านพิษ
อาการข้างเคียง
ร้อนวูบวาบทางผิวหนัง
ปัสสาวะลำบาก
ปากแห้ง
ตาพร่ามัว
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
กลุ่ม Catecholamines
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อเมทาบอลิซึม ผลต่อตับ
ผลต่อระบบไร้ท่อ ตับอ่อนลดการหลั่ง อินซูลิน ผ่าน α2 receptor เพิ่มการหลั่ง glucagon ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
ผลกระตุ้นหัวใจ กระตุ้นการเพิ่มอัตราการเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจ
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้รู้สึกตื่นตัวและลดความอยากอาหาร
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ กระตุ้นผ่าน β 2 -receptor ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลายขยาย
ผลต่อตา การกระตุ้น α receptor ที่ radial muscle ของม่านตาทำให้กล้ามเนื้อหดตัวและมีผลทำให้รูม่านตาขยาย
ระบบไหลเวียนเลือด การกระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดให้หดตัว
1.1 Epinephrine (Adrenaline)
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง α และ β receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย MAO และ COMT ดั้งนั้นให้โดยการรับประทานไม่ได้
ฤทธิ์ทางเภสัช
ระบบหายใจ ทำให้กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัว หลอดลมขยายตัว
ผลต่อเมตาบอลิซึม
ระบบทางเดินอาหาร
ยาเข้าสู่สมองได้น้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
ระบบไหลเวียนโลหิต มีฤทธิ์แรงที่ในการบีบหลอดเลือดและกระตุ้นหัวใจ
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะแอนาฟิแล็กซิส
ใช้เพื่อห้ามเลือด
ภาวะหัวใจหยุดเต้น ยา epinephrine เป็นยาตัวแรกที่ควรใช้
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
1.2 Norepinephrine
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ epinephrine โดยการกระตุ้น α1 และ β1 receptor แต่มีความชอบ α receptor สูงกว่า ทำให้เพิ่มความต้านทานรวมของหลอดเลือดส่วนปลายได้มาก ทำให้หลอดเลือดหดตัวลง
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตต่ำอย่างรุนแรง
1.3 Dopamine
Dopamine เป็น Neurotransmitter ในสมอง เมื่อถูกเมตาโบไลท์จะได้ norepinephrine และ epinephrine ยาออกฤทธิ์ต่อ recter เมื่อให้ยาต่างกัน
1.4 Dobutamine
เป็นสารสังเคราะห์ มีโครงสร้างคล้าย DAมีฤทธิ์ α1 และ β agonist ออกฤทธิ์กระตุ้น B1 receptor ฤทธิ์ต่อ d-receptor มีน้อย Dobutamine เป็นยาที่กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม Cardiac Output โดยมีผลเล็กน้อยต่ออัตราการเต้นของหัวใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท: วิตกกังวล ปวดศีรษะ อาการสั่น อาจเกิด cerebral hemorrhage
ระบบไหลเวียน: หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดบวมน้ำ เจ็บหน้าอก
tissue necrosis โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Norepinephrine ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปเนื้อเยื่อรอบ ๆ จะเกิด vasoconstriction อย่างมากจนเนื้อตายได้
Alpha-adrenergic agonist (α-agonist)
2.1 Alpha-1 agonist
2.1.1 Phenytephrine
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α receptor ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
ยารูปแบบรับประทานหรือแบบพ่นจมูก มีผลให้หลอดเลือดในเยื่อเมือกในโพรงจมูกหดตัว ใช้เป็นยาบรรเทาอาการคัดจมูก
2.1.2 Midodrine
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α1-receptor ทำให้หลอดเลือดหดตัว ส่งผลให้
ความดันโลหิตเพิ่ม ออกฤทธิ์นาน 3-4 ชั่วโมง
2.2 Alpha-2 agonist
ยามีฤทธิ์เป็น α2-agonist มีฤทธิ์เฉพาะเจาะจงที่ α2-adrenergic receptor ได้แก่ Clonidine
ออกฤทธิ์กระตุ้น α2- receptor ที่สมองและหลอดเลือด สามารถผ่านสมองใช้เป็นยาลดความดันโลหิต มีชนิดรับประทานและแผ่นแปะผิวหนัง ทำให้ลดการหดตัวของหลอดเลือด ลดความต้านทานของหลอดเลือด ทำให้ความดันโลหิตลดลง ประโยชน์ทางคลินิกใช้รักษาความดันโลหิตสูง
Beta-adrenergic agonist
3.1 β2 adrenergic agonist
1) ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมคลายตัว ใช้รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน และเพื่อขยายหลอดลม
Salbutamol ออกฤทธิ์ได้เร็วภายใน 15 นาที
Terbutaline ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
2) ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
Salmeterol & formoterol เป็นยาที่มีระยะเวลาการออกฤทธิ์ยาว นานกว่า 12 ชั่วโมง เพื่อให้รูปแบบยาพันช่วยบรรเทาอาการหืด Salmeterol มี onset ช้าใช้เวลาหลายชั่วโมง ในขณะที่
formotercd ออกฤทธิ์เร็วกว่าจึงสามารถใช้รักษาทั้งระยะเฉียบพลันและระยะยาว ใช้ในโรคหืดและ COPD และป้องกันอาการที่ดเมื่อออกกำลังกาย
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
เกิดจากการกระตุ้น β-receptor ในผู้ป่วยโรคหัวใจอยู่แล้วจะมีความเสี่ยงมากขึ้น อาการได้แก่ ใจสั่น อาการสั่น อาการกระวนกระวาย วิตกกังวล หัวใจเต้นเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ใช้รับประทาน
3.2 β3 adrenergic agonist
Mirabegron เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ β3-receptor มีผลให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัวใช้ในการรักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
4.1 Ephedrine & pseudoephedrine
ยา Ephedrine ไม่ได้ใช้ทางคลินิกแล้ว ส่วน pseudoephedrine เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทมีใช้อย่างจำกัดในโรงพยาบาล
ยาทั้งสองออกฤทธิ์ทางอ้อมโดยเพิ่มการปลดปล่อยสาร catechnolamine และตัวยายังสามารถกระตุ้นที่ receptor
4.2 Amphetamine
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง ออกฤทธิ์โดยตรง และทางอ้อม สามารถให้โดยการรับประทานและฤทธิ์อยู่ได้นาน ยามีผลเพิ่มความดันโลหิต และในขนาดสูงมีผลทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ผลเด่นชัดต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผลต่ออารมณ์ จิตใจ บุคลิกภาพ เพิ่มความตื่นตัว ลดความรู้สึก อ่อนล้า ลดความอยากอาหาร มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีอารมณ์ครื้นเครง จนกระทั่งมีอาการเคลิ้มเป็นสุข
ประโยชน์ทางคลินิกของยาในกลุ่ม Sympathomimetics
Asthma & COPD ใช้เป็นยาขยายหลอดลม ยาในกลุ่ม β2-adrenergic receptor เป็นยาหลักในการรักษาหอบหืด
Glaucoma ยากลุ่ม α2- agonist ช่วยลดความดันในลูกตา โดยลดการผลิตน้ำในลูกตา
Anaphylaxis ยาหลักที่ใช้ได้แก่ epinephrine ยาอื่น ๆ ที่ใช้ร่วม β2 agonist ขยายหลอดลม
Antihypertensive ยากลุ่ม α2- adrenergic agonist เช่น clonidine ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาทส่วนกลาง ช่วยลดความดันโลหิต
ภาวะช็อก
ยาที่กระตุ้น α- adrenergic receptor มีผลเพิ่มความดันโลหิต
Dopamine มีผลเพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไต
ยาที่กระตุ้น β-adrenergic receptor ทำให้กระตุ้นแรงบีบตัวและอัตราการเต้นของหัวใจ
ลดการคั่งการบวมของเนื้อเยื่อในจมูก
ภาวะหัวใจหยุดเต้น Epinephrine ใช้ในภาวะหัวใจหยุดเต้นมีผลเพิ่มความดันโลหิตและเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหัวใจ
8 อื่นๆ ได้แก่ overactive bladde ใช้ยา β3-receptor agonist มีผลคลายกล้มเนื้อกระเพาะ
ปัสสาวะ
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเชพเตอร์
ยาในกลุ่มนี้เรียกว่า Adrenergic blocker หรือ ยา "sympatholytic" ยาที่ใช้ในปัจจุบันออกฤทธิ์ปิดกั้น adrenergic receptors มีผลทางเภสัชวิทยาที่ ต่างกัน ขึ้นกับความจำเพาะต่อ α และ β receptor subtype
แบ่งยาในกลุ่มนี้ออกเป็น 2 ชนิด
Alpha-adrenergic antagonists
Prazosin, Doxazosin
ยาที่มีไช้ในปัจจุบัน คือ selective α1-antagonist ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α1-receptor ที่อยู่ภายไปเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบ ที่ผนังหลอดเลือด ที่หัวใจ และที่ต่อมลูกหมาก
ทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ ลดความต้านทานของหลอดเลือดแดง ผนังหลอดเลือดขยาย ทำให้ลดความดันโลหิตได้ดีและรวดเร็วรวมถึงทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่ต่อมลูกหมากและท่อปัสสาวะคลายตัว
อาการชข้างเคียงและความเป็นพิษ
การที่ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอิริยาบถ
β-adrenergic antagonists
ยากลุ่ม β-blocker มีความหลากหลายในคุณสมบัติ ได้แก่ ความจำเพาะต่อ receptor subtype หรือฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่น ๆ
2.1 Non-selective
Propranolol จัดเป็นยาตันแบบของ β-blocker ยับยั้งทั้ง β1 และ β2 receptor ถูกดูดซึมได้ดีมาก แต่มี frst-pass metabolism สูง ประโยชน์ในการรักษา
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง โดยใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะหรือยาขยายหลอดเลือด เนื่องจากการขัดขวางที่ β receptor ลดการกระตุ้นหัวใจ และลดความดันโลหิต
ลดอาการใจสั่น และมือสั่นในผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
ลดอาการตื่นเต้นได้ง่ายทำให้เกิดภาวะสงบ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
2.2 Selective β-blocker
Metoprolol และ Atenolol เป็น Selective β1-blocker ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก
่ยานี้ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า 45 ครั้ง/นาที
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบประสาท อาจพบอาการ ปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
ระบบหายใจ จากการปิดกั้นตัวรับ β2 อาจทำให้หลอดลมตีบแคบ ผู้วยโรคหอบหืดไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้
ยากลุ่มนี้มีผลกับระบต่อมไร้ท่อและกระบวนการเมแทบอลิซึม จึงอาจเกิดภาวะน้ำตาลในลือดต่ำ จากการตอบสนองเพิ่มระดับน้ำตาลผิดปกติ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด propranolol ทำให้หัวใจเต้นช้า เกิดจากการปิดกั้นตัวรับ β ที่หัวใจและหลอดเลือด และ atrioventricular block