Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม เลขที่ 49 รุ่น 36/2…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีปัญหา
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกคลอดเมื่ออายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
สาเหตุ
เศรษฐานะไม่ดี
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงยัง
เจริญไม่ดี
หายใจไม่สม่ำเสมอ
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
น้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
ภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำหนักลด (Poor Weight Gain)
ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
ภาวะล้ำไส้เน่า (NEC)
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5 C (วัดทางทวารหนัก)
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคลำ หยุดหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
วัดอุณภูมิเด็ก
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ตรวจสอบอุณหภูมิทุก 4 ชม.
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็นให้การพยาบาล
โดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome
หายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว
อาการ
อาการเขียว
ภาพถ่ายรังสีปอด
อาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
มีอาการหายใจลำบาก
การป้องกัน
Betamethazone
Dexamethazone
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
รักษา
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
การให้ออกซิเจน
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
apnea of prematurity
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่
ไม่มีการเคลื่อนไหว
ของทรวงอกหรือกะบังลม
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจ
ที่มีการเคลื่อนไหว
ของทรวงอกหรือกะบัง
แต่ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว
suction เมื่อจำเป็น
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
ระวัง การสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
ปัญหาการติดเชื้อ
Sepsis
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ
ปัญหาระบบหัวใจ เลือด
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
เพื่อช่วยยับยั้งการสร้างprostaglandin
ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จ านวน 3-4 ครั้ง
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
Hydrocephalus
IVH (Intra-ventricularHemorrhage)
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
Hypoglycemia
NEC
GER
การพยาบาล
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30กรัม)
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นนทั้งระยะสั้นและระยะยาว
การพยาบาล
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลตามอาการ
ความรุนแรงแบ่งได้เป็น3 ระดับ
อาการรุนแรงมาก
ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที
ภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
อาการรุนแรงปานกลาง
มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
ความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโมง
อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น
อาการรุนแรงน้อย
ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ
ทำให้แรงดันลดลง และมี
ค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ
เพียง24-72ชั่วโมง
อาการมักหายไปใน 24-72ชั่วโมง
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบิน
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมาก
เหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด
ตับกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
สาเหตุ
มีความผิดปกติเยื่อหุ้มเม็ดเลือดแดง
มีความผิดปกติของเอนไซด์ในเม็ดเลือดแดง
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงจากหมู่เลือดของแม่ลูกไม่เข้ากัน
มีเลือดออกในร่างกาย
เม็ดเลือดแดงเกิน
โรคธาลัสซีเมีย
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบิน direct bilirubin indirect bilirubin
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
CBC เพื่อดูการติดเชื้อ
G-6-PD เพื่อดูภาวะพร่องเอนไซด์
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Increased water loss / dehydration
Diarrhea
Retinal damage
Increases metabolic rate
Bronze baby หรือ tanning
Disturb of mother-infant interaction
Thermodynamic unstable
non-specific erythrematous rash
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
ถอดเสื อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
การพยาบาลExchange transfusion
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม เลขที่ 49 รุ่น 36/2
รหัสนักศึกษา 612001130