Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะมดลูกแตก (Rupture of the uterine )
ความหมาย
การฉีกขาดหรือแตกของผนังมดลูกเมื่อ GA มากกว่า 28 wks. พบได้ทั้งในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
การแตกชนิดสมบูรณ์ (Complete rupture)
การแตกชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture)
สาเหตุ
มดลูกแตกภายหลังการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องพบบ่อยที่สุดมีการฉีกขาดบริเวณรอยแผลผ่าตัดเดิมของมดลูก
มดลูกแตกจากได้รับบาดเจ็บส่วนใหญ่เกิดจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ
รายที่ได้รับยาชักนำการคลอดที่ไม่เหมาะสมและในรายที่มีการคลอดติดขัด
มดลูกแตกภายหลังจากมดลูกเคยได้รับอันตรายเนื่องจากเคยผ่าตัดเนื้องอกที่มดลูก
มดลูกแตกเอง มักเกิดระยะคลอดพบได้บ่อยในครรภ์หลัง ๆ อายุมาก
เคยมีการฉีกขาดของปากมดลูกได้รับการล้วงรก
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เสียเลือดมากมีภาวะ shock และเสียชีวิต
ต่อทารก
ภาวะขาดออกซิเจนและเสียชีวิต
อาการแสดง
อาการแสดงเมื่อมดลูกแตกแล้ว
อาการเจ็บครรภ์หายไปคลำพบส่วนต่างๆของทารกทางหน้าท้องได้อย่างชัดเจน
ตรวจทางช่องคลอดพบว่าส่วนนำลอยสูงขึ้นไปพบเลือกออกทางช่องคลอด
มดลูกไม่มีการหดรัดตัวอย่างทันทีทันใด
FHS ช้าลงหรือหายไปถ้ามีเลือดออกมากจะมีภาวะ hypovolemic shock
เจ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรง
อาการเตือนว่ามดลูกใกล้จะแตก
การคลอดไม่ก้าวหน้าปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อและส่วนนำของทารกไม่เคลื่อนต่ำลงมา
เห็นมดลูกเป็น 2 ลอน (bandl's ring)
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก
กระสับกระส่ายกระวนกระวาย ชีพจรเบาเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ กดเจ็บบริเวณเหนือหัวเหน่า (Suprapubic tenderness)
การป้องกัน
การให้ Oxytocin หรือ Prostraglandin ควรให้อย่างระมัดระวัง
เมื่อพบอาการแสดงว่ามดลูกใกล้จะแตกต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยการ CIS ทันที
ทำสูติศาสตร์หัตถการทางช่องคลอดเท่าที่จำเป็นและมีข้อบ่งชี้จริง ๆ
การพยาบาล
ให้เลือดให้เพียงพอและแก้ไขภาวะ shock โดยเร็ว
ผ่าตัดเปิดช่องท้องโดยเร็วหลังผ่าตัดต้องประเมินการทำงานของไตโดยสายสวนปัสสาวะคาไว้ให้ยาปฏิชีวนะ
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ (Prolapsed of cord)
ความหมาย
ภาวะที่สายสะดือเคลื่อนลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกอาจอยู่ในช่องคลอดหรือโผล่ออกมานอกปากช่องคลอด
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
Forelying prolapsed of cord หรือ Fonic presentation
Complete prolapsed of cord หรือ Overt prolapsed Cord
Occult prolapsed of cord
สาเหตุ
ทารกมีขนาดเล็กส่วนนำไม่กระชับช่องทางคลอด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด
ตั้งครรภ์แฝดหรือแฝดน้ำ
สายสะดือยาวกว่าปกติมากกว่า 75 cms.
ท่าส่วนนำหรือแนวของทารกในครรภ์ผิดปกติเช่น Breech presentation, Transverse lie
รกเกาะต่ำ
ผลกระทบ
ต่อมารดา
จากการ C / S หรือ F / E
ภาวะเศร้าโศกเสียใจจากทารกเสียชีวิต
ต่อทารก
ทำให้ทารกขาดออกซิเจนและถึงแก่ชีวิต
อาการและอาการแสดง
PV พบสายสะดือพลัดต่ำกว่าส่วนนำของทารก
ถ้าเป็นชนิด Occult prolapsed cord จะพบมีการเปลี่ยนแปลงของ FHR จาก Monitor
สายสะดือโผล่ออกมาจากช่องคลอดหรือมีความรู้สึกขัดตุงบริเวณช่องคลอดภายหลังจากถุงน้ำแตก
เป็น variable deceleration หรือมี bradycardia
การป้องกัน
การเจาะถุงน้ำควรทำด้วยความระมัดระวัง
เมื่อ MR ควร PV เพื่อประเมินว่ามีสายสะดือพลัดต่ำหรือไม่และฟัง FHS ทันที
แนะนำกลุ่มเสี่ยงเช่นครรภ์แฝดครรภ์ไม่ครบกำหนดทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือ CDP ไม่ควรแบ่งก่อนเวลาหรือให้รีบมาโรงพยาบาลทันทีที่ถุงน้ำคร่ำแตก
ควรบันทึก FHR ด้วยเครื่อง Monitor อย่างต่อเนื่องในกลุ่มเสี่ยงทุกราย
การพยาบาล
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
สวมถุงมือ sterile ดันส่วนนำไม่ให้กดทับสายสะดือจนกว่าการคลอดจะสิ้นสุดลง
ห้ามดันสายสะดือที่โผล่ออกจากช่องคลอดกลับเข้าไปด้านในให้ใช้ผ้า sterile นุ่มชุบ NSS. ที่อุ่น ๆ คลุมบริเวณสายสะดือที่โผล่ออกมา
เช่น trendelenberg's position, knee-chest's position หรือ sim's position
ให้ออกซิเจน mask with bag แก่มารดา 8 – 10 ลิตร / นาที
จัดท่าป้องกันส่วนนำกดสายสะดือโดยให้ก้นสูง
การคลอดถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่เต็มที่
ครรภ์หลัง ๆ ที่ปากมดลูกเปิด 7-8 cms. ขึ้นไปมี forelying prolapsed of cord ท่าของทารกผิดปกติไม่มีภาวะ fetal distress พยายามไม่ให้ MR อาจจะรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอด
DFU หรือผิดปกติควรให้คลอดเองทางช่องคลอยกเว้นกรณี CPD ต้อง C/S
แพทย์จะทำ C/S แต่ถ้าปากมดลูกเปิดเต็มที่แล้วและมี Vertex presentation ไม่มี CPD จะช่วย V / E or F / E
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism)
ความหมาย
ภาวะที่ร่างกายมีปฏิกิริยาไวเกินต่อสารในน้ำคร่ำเมื่อน้ำคร่ำพลัดเข้าสู่หลอดเลือดดำของมดลูกทำให้เกิดความล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิตหัวใจและระบบหายใจ
สาเหตุ
มีการหดรัดตัวที่รุนแรง
อายุ 35 ปี Multipara
การฉีกขาดของถุงน้ำคร่ำบริเวณริมรกมีการลอกตัวของรกหรือมีการฉีกขาดของปากมดลูกมดลูก
น้ำคร่ำมีขี้เทา (Meconium) ปน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ความดันโลหิตต่ำลดลง
เลือดออกจากปากช่องคลอดอย่างเฉียบพลันจาก DIC
มีอาการหายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเขียว
ส่วนใหญ่มารดาจะเสียชีวิต
ต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจนและเสียชีวิต
อาจได้รับการบาดเจ็บจากการช่วยคลอด
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด (Pulmonary edema)
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง ความดันโลหิตต่ำ ชักหมดสติ และเสียชีวิต
การหายใจล้มเหลวและเขียวตามใบหน้าและลำตัว (Cyanosis)
ถ้าเกิดหลังคลอด จะพบมดลูกหดรัดตัวไม่ดีมีเลือดออกมากเลือดไม่แข็งตัว
หนาวสั่น เหงื่อออกมาก (Diaphoresis) หายใจลำบาก (Dypnea)
การป้องกัน
ควรหดรัดตัวแต่ละครั้ง duration ไม่ควรนานเกิน 60 นาที interval 2-3 นาที intensity + 3
การทำ ARM ควรทำอย่างระมัดระวังไม่ให้ถูกปากมดลูก
ขณะเจ็บครรภ์คลอดไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
ไม่ควรทำ Membranes stripping
การรักษาพยาบาล
ความบกพร่องในการแข็งตัวของเลือดให้ fresh blood เพื่อเพิ่ม fbrinogen และ plasma ลดภาวะ fibrinogen ในเลือดต่ำและเพื่อเพิ่ม blood volume ในร่างกายลดการเกิดหัวใจล้มเหลว
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีหลอดเลือดเลือดแดงฝอยที่ปอดหดเกร็งระบบการหายใจล้มเหลวรักษาโดยการช่วยฟื้นคืนชีพใส่ endotradial tube ให้ออกซิเจนให้ยา ammiphyllin 1 armpute ผสมใน 50% glucose 50-LV pump ช้าๆเพื่อขยายหลอดลม
-C / S ช่วยให้ทารกคลอดออกมาโดยเร็ว
หลอดเลือดฉีกขาดที่เยื่อหุ้มรก (Vasa previa)
ความหมาย
เกิดจากสายสะดือเกาะที่เยื่อหุ้มรก (Placental membranes) หรือเรียกภาวะนี้ว่า velamentous insertion หรือ insertion velamentosa
velamentous insertion หมายถึงภาวะที่สายสะดือเกาะที่เยื่อหุ้มรกโดยตรง
Ruptured vasa previa หมายถึงภาวะ vasa previa ที่มีการฉีกขาดของเยื่อหุ้มรกและเส้นเลือดในบริเวณดังกล่าว
Vasa previa หมายถึงภาวะที่สายสะดือเกาะที่เยอะหุ้มรกและมีเส้นเลือดพาดผ่านอยู่บริเวณปากมดลูกด้านในและอยู่ใต้ส่วนนำของทารก
อาการและอาการแสดง
ลักษณะน้ำคล้ายสีน้ำล้างเนื้อ
ร่วมกันมีอัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
มีเลือดออกเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
การวินิจฉัย
ใช้กล้องส่องตรวจหาเส้นเลือดที่พาดผ่านเรียกว่า amnioscopy
ในรายที่มีเลือดออกร่วมกับถุงน้ำคร่ำแตกสามารถตรวจแยก Red blood cell ของทารกจากมารดาได้ด้วยวิธี wright stain เพราะเลือดของทารกจะมีนิวเคลียสส่วนของมารดาจะไม่มี
ตรวจภายในคลำได้ชีพจร (อัตราการเต้นของหัวใจทารก) บริเวณเยื่อหุ้มรกหากมีเส้นเลือดพาดผ่านถ้าคลำไม่ได้หากสงสัยอาจทดลองกดบริเวณนั้นกับส่วนนำของทารกถ้าพบอัตราการเต้นของหัวใจทารกเต้นช้าลงภายใน 30 นาทีแสดงว่าเกิดภาวะ Vasa previa
การรักษา
หากวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ครบกำหนดและทารกปกติควรช่วยคลอดด้วยการผ่าตัดคลอดก่อนจะมีอาการเจ็บครรภ์คลอดเพื่อหลักเลี่ยงภาวะถุงน้ำคร่ำแตก
หากวินิจฉัยได้ขณะเจ็บครรภ์คลอดให้รีบผ่าตัดคลอดโดยเร็วที่สุดและเตรียมช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดรวมทั้งเตรียมเลือดให้ทารกอย่างเพียงพอจะสามารถช่วยชีวิตทารกได้
ภาวะขาดออกซิเจนในทารกในครรภ์ (Fetal distress)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกมีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์เลือดมีความเป็นกรดมากทำให้มีผลกระทบต่อระบบการไหลเวียนและสมองของทารกซึ่งสามารถพบได้ทุกอายุครรภ์
อาการและอาการแสดง
พบ FH.S. ระยะแรกเร็วมากกว่า 160 ครั้ง / นาทีต่อมาช้าลงน้อยกว่า 120 ครั้ง / นาทีร่วมกับมารดาให้ทารกมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ
แรกคลอดทันทีจะพบ Apgar Score ต่ำกว่า 7 คะแนนที่ 1, 5 นาทีมีลักษณะเขียวไม่หายใจเองตัวอ่อนปวกเปียกตอบสนองต่อการกระตุ้นลดลงหัวใจเต้นช้า
กาวินิจฉัย
พบความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนในมารดาขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูงหรือต่ำตั้งครรภ์เกิดกำหนดรกเกาะต่ำรกลอกตัวก่อนกำหนดโรคหัวใจและปอดการได้รับยาระงับความเจ็บปวดขณะคลอดมดลูกหดรัดตัวรุนแรงตลอดเวลา
ทารกในครรภ์มีภาวการณ์เจริญเติบโตช้า, สายสะดือพลัดต่ำ, สายสะดือพันคอ
การรักษา
กระตุ้นการหายใจโดยลูบทรวงอกหรือตบฝ่าเท้าเบา ๆ
ให้ออกซิเจนทางหน้ากาก 4-5 ลิตร / นาทีเช็ดตัวให้แห้งและห่อด้วยผ้าให้ได้รับความอบอุ่นวางใต้ Radiant warmer
จัด Position ให้ทารกนอนหงาย clear air way โดยดูดสารคัดหลั่งในปากจมูกในระยะแรกคลอดทันที
สังเกตการณ์หายใจใน 2 ชั่วโมงแรกอย่างน้อยทุก 30 นาทีประเมินความรู้สึกด้วยการร้องและการตอบสนองของรูม่านตา
เตรียมการช่วยเหลือสำหรับการช่วยฟื้นคืนชีพทารกให้พร้อม
ในรายที่มีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรงทำ chest Compression ต่อจากการทำ ventilation ให้ยาตามแผนการรักษาเพื่อแก้ไขภาวะ metabolic acidosis
รายงานแพทย์ทันทีที่ประเมินพบภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์และจัดทำมารดาให้นอนตะแคงซ้ายและให้ออกซิเจน (Canuta) แก่มารดา 4-5 ลิตร / นาที