Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาว พิชยา หนูจักร เลขที่ 6 36/2…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
•Low birth weight infantinfant(LBW infantinfant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
•Normal birth weight infantinfant(NBW infantinfant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800 4,000 กรัม
ทารกคลอดก่อนกำหนดหมายถึงทารกคลอดเมื่ออายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
•การวินิจฉัย อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5o C ( วัดทางทวารหนัก)
•อาการและอาการแสดง ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคลา หยุดหายใจ หายใจลาบาก ปลายมือ ปลายเท้าเย็น
การดูแล
• จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTENTE) 32-34องศาเซลเซียส
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
•1 ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จาเป็นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
•2 ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก4 ทาง
•3 ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก4ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
•4 เช็ดทาความสะอาดตู้ทุกวัน
Respiratory Distress Syndrome (RDSRDS)ความหมายคือภาวะหายใจลาบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว
•มีอาการหายใจลาบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/ นาที มีปีกจมูกบาน หายใจมีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อทรวงอก (retraction retraction) หายใจมีเสียง Grunting
การรักษา การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
apnea of prematurity prematurityหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
การดูแล จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
ปัญหาการติดเชื้อ
•-Sepsis
•-NEC (Necrotizing Enterocolitis
การพยาบาล
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อโรคก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
2.เครื่องมือและสิ่งของที่ใช้กับทารกต้องสะอาดหรือผ่านการทำลายเชื้อโรค
3.อุปกรณ์ที่ใช้กับทารกต้องใช้เฉพาะคน
4.ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาระบบทางเดินอาหาร
•Necrotizing Enterocolitis
•เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
•การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
•ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
•การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
•-P DA (Patent DuctusAteriosus)
•Neonatal Jaundiceหรือ Hyperbilirubinemia
•An e mia
รักษาPDA โดยใช้ยา Indomethacin
•ขนาดที่ให้ 0.1 0.2 มก กก.ทุก 88ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
BUN >30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt . < 60,000 /mm 3 *urine <0.5 cc/Kg/ hrhrนานกว่า 8 hr
*มีภาวะ NEC
รักษาPDA โดยใช้ยา ibuprofen
•เพื่อช่วยยับยั้งการสร้างprostaglandin ซึ่งจะทำให้ PDA ปิด •ให้ทุก 12-24ชั่วโมง จำนวน 3-4ครั้ง
•สามารถปิดได้ร้อยละ 70 •ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10วัน
•ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine 1.6มิลลิกรัม/เดซิลิตรและ BUNBUNมากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
•-IVH (IntraventricularHemorrhage) •-Hydrocephalus
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit KK1 เข้ากล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ควรจะฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ ถ้าจ้าเป็นต้องฉีดเข้ากล้ามเนื้อควรใช้เข็มที่คม หลังฉีดยาหรือ off IV.fluid fluidควรกดบริเวณที่แทงเข็มไว้นานๆ
ดูแลการได้รับ Vit . E และ FeSOFeSO4 ทางปากตามแผนการรักษา
ขณะดูดเสมหะหรือขณะใส่สายยางเข้าไปในทางเดินอาหาร ควรจะใส่อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
•-Hypoglycemia
•NEC(NecrotizingEnterocolitis)
•-GER(GastroesophagealReflux
การพยาบาล
•-ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
•-gavage feedingfeeding(OG tubetube) ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูด กลืนไม่ดี
•-IVFIVFให้ได้ตามแผนการรักษา
•-ระวังภาวะ NECNEC: observeobserveอาการท้องอืด contentcontentที่เหลือ
•ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้าหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15 3030กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
ปัญหาสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก (bonding, attachment)
-ส่งเสริม, กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด (ถ้ามารดาไม่มีข้อจ้ากัด) โดยการประสานงานหรือร่วมมือกับพยาบาลแผนกมารดาหลังคลอด
-เมื่อบิดามารดาเข้าเยี่ยมทารก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลที่ทารกได้รับในขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลที่จะท้าได้ กระตุ้นให้บิดามารดาอุ้มชู หรือสัมผัสทารกไม่บังคับหรือตำหนิถ้ามารดายังไม่พร้อมที่จะท้า นอกจากนี้ ให้บิดามารดมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หรือดูแลทารกตามความเหมาะสม
-เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด Hyperbilirubinemia
•ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice jaundice) เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า และ ความไม่สมบูรณ์ในการทางานของตับ
•ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice jaundice) เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24ชั่วโมงแรกหลังเกิด เกิดได้จากหลายสาเหตุ
•มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้เพิ่มขึ้น เช่น ทารกดูดนมได้น้อย ภาวะลำไส้อุดตัน
•ตับกาจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
•มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
การรักษา การส่องไฟ
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาด้วยการส่องไฟ
•Increases metabolic rate พบว่าทารกอาจมีน้ำหนักตัวลดลง
•Increased water loss / dehydration ทารกมีภาวะเสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ
•Diarrhea ทารกอาจถ่ายเหลว
•Retinal damage ถ้าไม่ได้ปิดตาทารกให้มิดชิด อาจมีการบาดเจ็บเนื่องจากถูกแสงส่องนานทำให้ตาบอดได้
•Bronze baby หรือ tanning ทารกอาจจะมีสีผิวคลาขึ้น
•Disturb of mother infant interaction เนื่องจากต้องให้ทารกรักษาด้วยการส่องไฟอาจทาให้มารดามีโอกาสได้อุ้มสัมผัสทารกน้อยลง
•Thermodynamic unstable ทารกอาจมีอุณหภูมิร่างกายสูงหรือต่ำกว่าปกติ ประเมินสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอทุก 4 ชั่วโมง
•non specific erythrematous rash อาจมีผื่นขึ้นตามตัวเป็นการชั่วคราว
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาลExchange transfusion
•อธิบายให้บิดามารดาทราบ •เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม•ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
•ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
•สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย แคลเซียมในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ ตัวเย็น ติดเชื้อ
•ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
• กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้าตาลในเลือดต่า จะต้องตรวจหาระดับน้าตาล ภายใน 1 2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1 2 ชม.ใน 6 8 ชม.แรกหรือจนระดับน้าตาลจะปกติ รีบให้5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1 2 มื้อแรก แล้วให้นม
MAS
•เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
•การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
•การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
•การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
•ดูแลภาวะน้าหนักตัวแรกเกิดลด
•ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
•ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
•เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
•การดูแลทางโภชนาการ
•การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
การดูแลที่จาเป็นสำหรับทารก
นางสาว พิชยา หนูจักร เลขที่ 6 36/2 612001086