Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช่ในระบบประสาทอัตโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช่ในระบบประสาทอัตโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก : ทำงานให้สามารถต่อสู้หรือถอยหนี เพิ่มการใช้พลังงานทำให้หัวใจเต้นเร็ว
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก :เปรียบเสมือนระบบชะลอหรือระบบห้าม เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร
สารสื่อประสาทและตัวรับในระบบประสาทอัตโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบพาราซิมพาเทติกเรียกว่า Cholinergic agents ได้แก่ Acetylcholine และจับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor มีทั้งชนิด Muscarinic (M) และ Nicotinic receptors (N)
Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
สารสื่อประสาทในระบบโซมาติก จะมีเส้นประสาทที่ไปยังกล้ามเนื้อลาย ซึ่งหลั่ง ACh ออกฤทธิ์ที่
Nicotinic receptor s กล้ามเนื้อลาย
สารสื่อประสาทในระบบซิมพาเทติกเรียกว่า Adrenergic ได้แก่ NE และจับตัวกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Adrenergic receptor มีชนิด Alpha และ Beta
การแบ่งประเภทของAdrenergic receptors
Beta 1 : พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว อัตราการเต้นของหัวใจ
Beta 2 :พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดินปัสสาวะ
Alpha 2 : พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่างๆ
Beta 3 : พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกคะตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
Alpha 1 : พบทีกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทางเดินปัสสาวะและมดลูกที่ทำให้เกิดการตอบสนองแบบหดตัว
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic Drugs)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินหายใจ
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ระบบทางเดินอาหาร
ต่อมเหงื่อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบตา
กลไกการออกฤทธิ์
Atropine เป็น muscarinic antagonist ออกฤทธิ์แย่งที่กับ Ach ในการจับ muscarinic receptor แบบแข่งขัน
ส่วนของร่างกายที่ตอบสนองต่อฤทธิ์ยาได้ไว คือ ต่อมที่มีท่อต่างๆ
การนำไปใช่ทางคลินิก
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
ใช้เป็นยาเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสัน
ใช่ในการรักษาภาวะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
ใช้เป็น Antispasmodics ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
ใช้เป็นยาป้องกันและรักษาอาการเมารถ เมาคลื่น
Antisecretory รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ใช้เป็นยาต้านพิษ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
เกิดจากฤทธิ์ anticholinergic อาการรุนแรงมากน้อยขึ้นกับขนาดยาที่ใช้ อาการที่พบ ได้แก่ ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัวควรสังเกตและบันทึกปริมาณน้ำดื่มและจำนวนปัสสาวะ เพราะยาอาจทำให้ปัสสาวะคั่งได้
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก (Adrenergic drugs
กลุ่ม Catecholamines ได้แก่ Epinephrine,Norepinephrine (NE),Dopamine (DA) และ Dobutamine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อระบบไร้ท่อ
ผลกระตุ้นหัวใจ
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ
ผลต่อเมแทบอลิซึม ผลต่อตับ
ระบบไหลเวียนเลือด
ผลต่อตา
ยากลุ่ม Catecholamines
Epinephrine
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง Alpha 1,2
และ Beta1,2 receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย MAO,COMT ดังนั้นให้โดยการับประทานไม่ได้
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ
ผลต่อเมตาบอลิซึม
ยาเข้าสู่สมองน้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเนื่องจากสาเหตุต่างๆ
ภาวะแอนาฟิแล็กซิสเป็ เป็นปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงอย่างเฉียบพลัน
ใช้เพื่อห้ามเลือดประคบเฉพาะที่บริเวณเยี่ยเมือกลดอาการเลือดออก
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
Norepinephrine
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับepinephrine โดยกระตุ้นที่Alpha1และ Beta1แต่มีความชอบต่อAlpha receptor สูงกว่าทำให้เพิ่มความต้านทานรวมของหลอดเลือดส่วนปลายได้มากทำให้หลอดเลือดหดตัวเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
Dopamine
Dopamine เป็น Neurotransmitter ในสมองเมื่อถูกเมตตาโบไลท์จะได้ Norepinephrine และ epinephrine ยาออกฤทธิ์ต่อ receptor เมื่อให้ยาต่างขนาดกัน
Dobutamine
เป็นการสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างคล้าย DA มีฤทธิ์ Alpha1 และ Beta agonist ออกฤทธิ์กระตุ้น Beta 1 receptor ฤทธิ์ต่อ Alpha-receptor มีน้อย Dobutamine เป็นยาที่กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท วิตกกังวลระบบประสาทวิตกกังวลปวดศีรษะอาการสั่นการเกิด Cerebral hemorrhage
ระบบไรเวียนโลหิต หัวใจเต้นผิดจังหวะปอดบวมน้ำเจ็บหน้าอก
Tissue necrosis โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Norepinephrine ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปทั่วเนื้อเยื่อรอบๆจะเกิด Vasoconstriction อย่างมากจนเนื้อตายได้
Alpha-adrenergic agonist
Alpha-1 agonist
Phenylephrine
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว เพิ่มแรงต้านในหลอดเลือดและเพิ่มความดันโลหิต
Midodrine
ทำให้หลอดเลือดหดตัวส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นออกฤทธิ์นาน 3 ถึง 4 ชั่วโมงใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการ
postural hypotension
Alpha-2 agonist
Clonidine
ออกฤทธิ์กระตุ้น Alpha 2 -receptor ที่สมองและหลอดเลือดสามารถผ่านสมองใช้เป็นยาลดความดันโลหิตมีชนิดรับประทานและแผ่นแปะผิวหนังทำให้ลดการหดตัวของหลอดเลือดลดความต้านทานของหลอดเลือดทำให้ความดันหลอดเลือดลดลงประโยชน์ทางคลินิกใช้รักษาความดันโลหิตสูงเป็นยาที่เลือกใช้ในสตรีที่ตั้งครรภ์รักษาอาการขาดเหล้าหรืออาการถอนพิษของสุรา
Beta-adrenergic agonist
Beta2 adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
อาการค้างเคียงและความเป็นพิษ
-เกิดจากการกระตุ้น Beta-receptor ในผู้ป่วยโรคหัวใจอยู่แล้วจะมีความเสี่ยงมากขึ้น
Beta3 adrenergic agonist
Mirabegron เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ Beta3-receptor มีผลให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Amphetamine
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่หนึ่งออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูงออกฤทธิ์โดยตรงและทางอ้อม
Ephedrine and pseudoephedrine
ยา ephedrine ไม่ได้ใช้ทางคลินิกแล้ว
ส่วน pseudoephedrine เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทมีใช่อย่าจำกัดในโรงพยาบาล
ประโยชน์ทางคลินิกของกลุ่มยา sympathomimetics
Asthma and COPD
Glaucoma
Anaphylaxis
Antihypertensive
ภาวะช็อก
ลดการคั่งการบวมของเนื้อเยื่อในจมูก
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
อื่นๆ ได้แก่ overactive bladder
ยาโคลิเนอร์จิค (cholinergic drugs)
Cholinergic agonist สารที่โคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์โดยตรง
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ Muscarinic และ Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลของยาต่อเนื้อเยื่อระบบต่างๆจากคล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเทติกต่อระบบสำคัญต่อร่างกาย ดังนี้
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ
ฤทธิ์ต่อตา
ระบบอะไรเวียนระบบเลือด
ระบบประสาทส่วนกลาง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักระบบทางเดินปัสสาวะ
ใช้รักษาต้อหิน
ใช้รักษาอาการท้องอืด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ผลของยาเกิดจากการกระตุ้น muscarinic receptor โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีผลทั่วร่างกาย (systemic)
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหืด หรือโรคปอดอุดกั้น
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
Anticholinesterase agent
สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์ทางอ้อม
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานเอนไซม์ (AChE) หรือ (ChE) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทำลาย Ach ผลทำให้ Ach ไม่ถูกทำลาย Ach จึงไปกระตุ้น cholinergic receptor อย่างมากทั้ง central และ peripheral nervous system การจับกับเอนไซม์ ถ้าเป็นชั่วคราว จัดอยู่ในกลุ่ม “reversible”ส่วนสารที่จับกับเอมไซม์ถาวร เรียกกลุ่มนี้ว่า “irreversible”
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ muscarinic receptor คล้ายกับ
cholinergic agonist
ผลต่อ nicotinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อลาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช่ในการักษาอาการลำไส้
ใช่ในการรักษาโรค Myasthenia gravis (MS)
ใช่ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น competitive antagonist
รักษา Alzheimer’s disease ยาช่วยปรับปรุงด้านความทรงจำ
อาการข้างเคียง และความเป็นพิษ
Organophosphate หรือยาฆ่าแมลง เป็นยาที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวร เมื่อได้รับสารนี้จะเกิดอาการพิษ
การรักษาโดยให้ยาต้านพิษได้แก่ Atropine และ pralidoxime (2-PAM) เพื่อยับยั้ง Muscarinic effect
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์
(Adrenoceptor blocking drugs)
Beta-adrenergic antagonists
Non-selective beta-blocker
ลดอาการใจสั่นและมือสั่นในผู้ป่วยที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
ลดอาการตื่นเต้นได้ง่ายทำให้เกิดภาวะสงบ
ใช้ในการรักษาความดันโลหิตสูงโดยใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะหรือยาขยายหลอดเลือด
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Selective beta-blocker
ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นผิดจังหวะเจ็บหน้าอกและเป็นยาสำคัญใช้เพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบหายใจ
หัวหัวใจเต้นผิดจังหวะแม้ว่าอยากกลุ่มนี้จะรักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะแต่สามารถชักนำให้เกิดอาการได้โดยเฉพาะเมื่อหยุดยาอย่างกระทันหัน
ระบบหัวใจและหลอดเลือดทำให้หัวใจเต้นช้า
ระบบประสาทอาจพบอาการปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
ยากลุ่มนี้มีผลต่อระบบไร้ท่อและระบบกระบวนการเมแทบอลิซึม ซึ่งอาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำจากการตอบสนองเพิ่มระดับน้ำตาลผิดปกติ
Alpha-adrenergic antagonists
Prazosin,Doxazosin
อยากกลุ่มนี้ไม่แนะนำให้ใช้เป็นยาอันดับแรกในการลดความดันโลหิตแต่อาจใช้รักษาความดันโลหิตสูงที่มีโรคต่อมลูกหมากโตร่วมด้วย
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
การที่ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอิริยาบถซึ่งมักพบบ่อยๆจากการใช้ยาระยะแรก