Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
การควบคุมอวัยวะภายใน ทำงานร่วมกับANS
2 ประเภท
ระบบประสาทซิมพาเทติก
ต่อสู้หรือถอยหนี
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
การชะลอหรือห้ามระบบ
ยาที่ออกฤทธิ์
Cholinergic drugs
Cholinergic agonist
กลไกลการออกฤทธิ์ กระตุ้นที่ muscarinic และ nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ผลของยาต่อเนื้อเยื่อระบบต่างๆ คล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ระบบไหลเวียนเลือด ลดความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
ระบบหายใจ กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว
ระบบทางเดินปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะหดตัว เพิ่มความดัน
ระบบทางเดินอาหาร เพิ่มหลั่งสารคัดหลั่ง เช่น น้ำลาย กรดในกระเพาะอาหาร
ฤทธิ์ต่อตา ทำให้ม่านตาหรี่
ระบบประสาทส่วนกลาง กระตุ้นสมองส่วน cortex
การนำไปใช้
1.ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ
2.ใช้รักษาต้อหิน
3.รักษาอาการท้องอืด
ผลค้างเคียง
Pilocarpine เกิดอาการมึนหัว คล้าย้เป็นลม
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหอบหืด
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
Anticholinergic agent
กลไกลการออกฤทธิ์
ยับนั้งการทำงานของเอนไซม์ ACHE Nทำลาย ACH ทำให้ ACH ไม่ถูกทำลาย จึงถูกกระตุ้นอย่างมาก
สารเอนไซม์ชั่วคราว คือกลุ่มreversible
สารเอนไซม์กลุ่มถาวร คือกลุ่มirreversible
ฤทธิ์ทางยา
ผลต่อ muscarinic receptor
ผลต่อ nicotinic receptor
การนำไปใช้
รักษาอาการลำไส้
รักษาโรค MS
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยา
รักษา Alzhemer's disease
อาการข้างเคียง
เมื่อได้รับสารนี้จะเกิด อาการรูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า หน้ามือด เหงื่ออก หยุดไายใจ
Antimuscarinic drugs
กลไกลการออกฤทธิ์
Atopine muscarinic antagonists ออกฤทธิ์แย่งที่จับ Ach ในการจับ แบบแข่งขัน ทำให้มีผลลด พาราซิมพาเทติกในร่างกาย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองเห็นภาพชัดเจนได้
ระบบทางเดินอาหาร ลดการบีบบตัวของหลอดอาหารไปจนถึงลำไส้ใหญ่
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ ลดความดึงตัว และความแรงในการบีบท่อปัสสาวะ
ต่อมเหงื่อ ขับเหงื่อน้อยลง
การนำไปใช้
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
ใช้ทางจักษุแพทย์
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
อาการค้างเขียง
อาการรุมากน้อยขึ้นกับขนาดยาที่ใช้ อาการที่พบ ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว ใจสั่น
Adrenergic drugs
ยา4กลุ่ม
Catecholamines
Alpha-adrenergic agonist
แอลฟา1
มีฤทธิ์เฉพาะที่เจาะจง
Phenylephrine มีฤทธิ์จำเฉพาะ ทำให้กล้ามเนื้อกลัามเรียบของหลอดเลือดหดตัว
Midodrine หลอดเลือดหดตัว ทำให้ความดันโลหิตเพิ่ม
แอลฟา2
ผ่านสมองใช้เป็นยาลดความดันโลหิต ลดการหดตุวของหลอดเลือด ลดความต้านทานของหลอดเลือด
Brta-adrenergic agonist
มีความไม่จำเพาะต่อbeta receptor subtype จำเพราะต่อ beta receptor
Beta2
1.ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
2.ยาขยายหลอดลมชนิดยาว
ผู้ป่วยโรคหัวใจอยู่แล้วมีความเสี่ยงมาก อาการใจสั่น อาการกระวนกระวาย
Beta3กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัวใช้ในการรักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Ephedrine and pseudoephedrine
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ออกฤทธิ์ทางอ้อมโดยเพอิ่มการปลดปล่อยสาร
Amphetamine
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางมีความรุนแรงจำนวนมาก ทางอ้อมรับประทานและฤทธิ์อยู่ได้นาน
ประโยชน์
ภาวะshock
Anaphylaxis
ลดการคั่งการบวมของเนื้อเยื่อในกระดูก
Adrenoceptor blocking drungs
2 ชนิด
Alpha-adrenergic antagonists
Prazosin,Doxazosin
Selective alpha1-antagonist ออกฤทธิ์จำเพาะที่อยู่ถายในเซลล์กล้ามเนื้อเรีบ ที่ผนังหลอดเลือด หัวใจ ต่อมลูกหมาก เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ ลดความต้านทานของหลอดเลือดแดง
อาการข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ พบบ่อยเมื่อใช้ยาระยะแรกๆ
Beta - Adrenergic antagonists
จำเพาะต่อ receptor หรือฤทธิ์ทางเภสัช เพิ่มเติมเช่น Calcium blocker หรือกระตุ้นสร้าง nitric oxide
non-selective Beta-blocker
Timolol
Propanolor
รักษาความดันโลหิตสูง โดยใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะหรือยาขยายหลอดเลือด
ลดอาการใจสั่น
ลดอาการตื่นเต้นง่าย
Sotalol
Selective Beta-blocker
Metoprolol
Atenolol
รักษาโรคความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก และเป็นยาที่ใช้ลดความเสียงภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการ
หลอดลมตีบแคบ
ปวดหัว นอนไม่หลับ เหนื่อล้า
หัวใจเต้นช้าลง
น้ำตาลในเลือดต่ำ
Beta-adrenergic antagonists
สารสื่อประสาทและตัวรับในระบบประสาท
สารสื่อประสาทในระบบซิมพาเทติกเรียกว่า Adrenergic agents
แอลฟา2 พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่างๆ
แอลฟา1 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
บีต้า1 พบมี่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว
บีต้า2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
บีต้า3 พบที่เซลล์ไขมัน
สารสื่อประสาทในระบบพาราซิมพาเทติก เรียกว่า cholinergic
แบ่งได้2ชนิด
1.nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
2.muscarinic receptor
M1 พบที่สอมง
M2 พบที่หัวใจ
M3พบตามต่อมมีท่อต่างๆ
M4 พบที่ระบบประสาท
M5 พบที่ Dopamine neuron
ระบบโซมาติก
มีเสีนประสาทไปยังกลัามเนื้อลายหลัง ACH