Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกายเป็นระดับความร้อนของร่างกายซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้างความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อมมีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส(°C) หรือองศาฟาเรนไฮต์(° F)
-
-
-
-
-
-
ชีพจร
-
การประเมินชีพจร
การคลําชีพจรนิยมคลําตามตําแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้างๆกระดูกและมักเรียกชื่อชีพจรตามตําแหน่งของหลอดเลือดที่จับได้
-
-
ข้อควรจําในการวัดชีพจร
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
-
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา(Rate) การเต้นของชีพจร จํานวนครั้งของความรู้สึกที่ได้จากคลื่นบนหลอดเลือดแดงกระทบนิ้วหรือการฟังที่ Apex ของหัวใจในเวลา 1นาที หน่วยเป็นครั้ง/นาที อัตราการเต้นของชีพจรปกติในวัยผู้ใหญ่อยู่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาที
-
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ(Vital signs) เป็นสิ่งที่แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิตสามารถสังเกตและตรวจพบได้จากอุณหภูมิชีพจรการหายใจและความดันโลหิต
เมื่อใดที่สัญญาณชีพผิดปกติผู้ป่วยจะต้องได้รับการเฝ้าระวังและค้นหาสาเหตุอย่างต่อเนื่องเนื่องจากแสดงว่ากําลังเกิดความผิดปกติกับร่างกาย
-
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
-
-
อุณหภูมิ=36.5-37.5องศาเซลเซียส ชีพจร=60-100ครั้ง/นาที หายใจ=12-20ครั้ง/นาที ความดันโลหิต
Systolic=90-140mmHg Diastolic=60-90mmHg
การหายใจ
-
การประเมินการหายใจ
เป็นการนับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจ 1 ครั้งไปจนครบ 1 นาทีเต็มมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการทํางานของปอด และทางเดินของลมหายใจ
-
ความดันโลหิต
-
การประเมินความดันโลหิต
การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง(Central venous blood pressure: C.V.P) โดยวิธีใส่สายสวนเข้าไปในSuperior vena cavaและใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
การวัดความดันโลหิตโดยทางอ้อมเป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงมี2 วิธีคือวิธีการฟังและวิธีการคลําเครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดความดันโลหิต
-