Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน
mecronium aspiration syndrome
ภาวะที่มีขี้เทาเข้าไปอยู่ในปอดของทารกแรกเกิด อาจเกิดก่อนหรือขณะคลอด อาจทำให้เกิดปัญหาทางการหายใจได้
S&S
หน้าอกโป่งตึงผิดปกติ
RR > 60bpm
Cyanosis
Apnea
abnormal breath sound อาจพบ crepitation
อาจพบ pneumothorax
x-ray อาจพบ pleural effusion
fever อาจเกิด pneumonia
การรักษา
ติดตาม S&S
ให้ oxygen
suction clear airway ในทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ให้ ATB
การพยาบาล
observe vital sign
ดูแลให้ได้รับ oxygen อย่างเพียงพอ
clear airway
hygiene care
observe อาการอย่างใกล้ชิด
nursing diagnosis
ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก็าซที่ปอดลดลงเนื่องจากมีภาวะ mecronium aspiration syndrome
มีโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากระบบภูมิต้านทานของร่างกายยังพัฒนาไม่สมบูรณ์
birth asphyxsia and resucsitation
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะ Birth asphyxia
ปัจจัยขณะตั้งครรภ์
อายุ >35 / <16 yrs
DM
เลือดออกขณะตั้งครรภ์
มารดาได้รับยารักษาโรคบางอย่าง เช่น magnesium,adrenergic blocking agents
ติดยาเสพติดหรือสุรา
มีประวัติneonatal deathในครรภ์ก่อนๆ
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
preterrm labor / PROM
ทารกในครรภ์มีความพิการ
มารดาป่วยด้วยโรคบางอย่างเช่น โรคหัวใจ ไทรอยด์
ตั้งครรภ์มากกวา่ 1 คน
PIH /chronic hypertension
Oligohydramnios /Polyhydramnios
Post term gestation
ปัจจัยขณะคลอด
breech presentation / malposition
infection
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
cord polapse
มารดาได้รับ sedative หรือยาแก้ปวด
Cesarean section
Meconium stain amniotic fluid
จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
Nursing Diagnosis
มีโอกาสชักเนื่องจากสมองถูกทําลายจากการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก ให้ทารกได้พัก เพื่อลดการใช้oxygen
สังเกตอาการขาดoxygen เช่น ริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้าเขียว ควรรีบรายงานแพทย์ เพื่อให้oxygenตามแผนการรักษา
เตรียมเครื่องมือช่วยทารกกรณีมีอาการชักเกร็งจากสมองถูกทําลาย เนื่องจากการขาดออกซิเจน เช่นไม้กดลิ้น เครื่องsuction
ถ้ามีอาการของการขาดoxygenมากขึ้น ต้องเตรยีมเครื่องช่วยหายใจ สังเกตอาการของสมองถูกทําลาย เกร็ง กระตุก ชัก ถ้าพบต้องรีบให้การช่วยเหลือ
สังเกตและบันทึกระดับการรู้สติของทารก
ให้ยาตามRx.พร้อมทั้งสังเกตS/Eของยา
เนื้อเยื่อร่างกายขาดออกซิเจนเนื่องจากทารกมีภาวะหายใจลําบาก
ช่วยดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง กระตุ้นการหายใจและจับทารกนอนหงาย ใช้หมอนรองใต้ไหล่ เพื่อให้ทางเดินหายใจตรง
ให้oxygenตามRx โดยต้องให้ผ่านน้ำ สังเกตอาการแทรกซ้อนจากการให้oxygen
3.keep warm ให้ทารกเพื่อลดการใช้oxygen
บันทึก RR HR ถ้าพบผิดปกติควรรีบรายงานแพทย์
สังเกตอาการขาดoxygen เช่น ริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้าเขียว หายใจปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม ควรรีบรายงานแพทย์
ให้ทารกพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ทารกได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินระดับoxygenในเลือด ถ้าพบผิดปกติรายงานแพทยเ์พื่ออวางแผนการรักษาที่เหมาะสมทันท่วงที
birth injuries
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
F/E / V/E
การใช้แรงดึงมากเกินไปในการช่วยคลอด
ปัจจัยเสี่ยงจากผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญหรือขาดการเอาใจใส่อย่างเพียงพอ
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
malpresentation
ทารกมีขนาดตัวโตมากทําให้เกิดdystocia
preterm / postterm
การคลอดไหล่ยาก
ทารกมีความพิการแต่กําเนิด
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
ความผิดปกติที่มีมาก่อนการตั้งครรภ์เช่น มารดาDM,CPD
complicationsที่เกิดขึ้นจากการตั้งครรภ์เช่น Abruptio Placentae, Oligohydramnios, PIH
ระยะเวลาของการคลอด เช่น precipitate labor
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่กระทํากับทารกโดยตรงและไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดาเป็นระหว่างการตั้งครรภ์
แบ่งออกเป็น3กลุ่ม
bone injuries
กระดูกต้นแขนหัก
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทําคลอดดึงทารกออกมา
แขนเหยียด หรือการคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
S&S
ในรายที่complete อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
แขนข้างที่หักจะมีอาการบวมและทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างนั้น เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
แนวทางการรักษา
ถ้าอาการไม่รุนแรง เป็นเพียงกระดูกแขนเดาะ รักษาโดยการตรึงแขนแนบกับลําตัว เพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว1-2wks
หากกระดูกหักแบบcomplete จะรักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90องศา แขนส่วนล่างและมือทาบขวางลําตัว ใช้ผ้าพันรอบแขนและลําตัว หรือใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
กระดูกต้นขาหัก
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทําคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ pelvic inlet
S&S
เมื่อจับทารกเคลื่อนไหวหรือถูกบรเิวณที่กระดูกต้นขาหัก ทารกจะร้องไห้เพราะรู้สึกเจ็บ
อาจไม่ทราบว่ากระดูกหัก จนผ่านไปหลายวัน ขาทารกมีการบวมเนื่องจากเลือดเข้าไปในกล้ามเนื้อใกล้เคียงบรเิวณที่หัก
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
แนวทางการรักษา
ถ้ากระดูกหักcomplete ห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2-3wks
ถ้าหักแบบ incomplete ใส่เฝือกขายาว 3-4wks
กระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุ
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก ทารกตัวโต หรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียด ซึ่งผู้ทําคลอดดึงแขนออกมา
S&S
ทารกเคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหักน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
ทารกจะมีอาการหงุดหงิด ร้องไห้เมื่อสัมผัสที่กระดูกหัก
brachial plexus อาจได้รับอันตรายร่วมด้วย
อาจพบecchymosis บรเิวณที่ได้รับบาดเจ็บ
บางรายหลายwks พบว่าอาจมีก้อนนูนที่ไหปลาร้า หรือคลําได้ก้อนแข็ง แสดงถึงการมีกระดูกเกิดขึ้นใหม่แทนกระดูกที่หัก
แนวทางการรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อนข้างเร็ว มักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 1wk
โดยให้แขนและไหล่ด้านที่หักอยู่นิ่งๆ โดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ10–14days
nerve injuries
facial nerve injury
สาเหตุ
dustocia
F/E ทำลายประสาทคู่7
S&S
อัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า โดยทั่วไปมักเป็นด้านเดียวทําให้ใบหน้าด้านที่เป็นไม่มีการเคลื่อนไหว
ทารกจะลืมตาได้เพียงครึ่งเดียว ตาปิดไม่สนิท บางรายอาจมีอันตรายเฉพาะแขนงประสาทที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อส่วนล่างของใบหน้า ปากข้างที่เป็นจะถูกดึงลงมาทําให้มีมุมฝีปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก เมื่อจับใบหน้าให้ตรง รูปหน้าทั้ง 2 ด้านจะไม่เท่ากัน เห็นได้ชัดเจน
เมื่อทารกร้องไห้ กล้ามเนื้อด้านที่เป็นอัมพาตจะไม่เคลื่อนไหว ทําให้หน้าเบี้ยวไปข้างที่ดี
แนวทางการรักษา
ถ้าประสาทที่เลี้ยงใบหน้าเพียงถูกกด อาจหายไปได้เองภายใน 2-3 days - week
ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทําศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารเหมาะสมตามความต้องการของทารก เนื่องจากไม่สามารถใช้ริมฝีปากอมหัวนมมารดาได้กระชับเหมือนปกติ
ดูแลไม่ให้ดวงตาของทารกได้รับอันตราย
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
Brachial nerve injury
สาเหตุ
ข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด พบในทารกที่คลอดโดยมี breech presentationหรือคลอดยากบริเวณแขนหรือไหล่
จากการที่ดึงไหล่ออกไปจากศีรษะในระหว่างการคลอด จําแนกอันตรายเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนบน (C5-C6) และส่วนล่าง (C7-C8และ T1)
S&S
กล้ามเนื้อแขนข้างที่เป็นจะอ่อนแรง วางแนบลําตัว ศอกเหยียด แขนช่วงล่างหมุนเข้าด้านใน มือคว่ำ ทารกไม่สามารถวางแขนเหยียดออกจากไหล่หรือหมุนแขนออกด้านนอกและหงายแขนส่วนล่างได้
กล้ามเนื้อที่ทําหน้าที่เคลื่อนไหวมือและนิ้วยังดี ทารกจึงสามารถขยับข้อมือ และมือได้ตามปกติ กํานิ้วมือได้ เรียกว่า Erb Duchenne Paralysis
อันตรายที่เกิดกับเส้นประสาทC7-C8และT1 ทําให้กล้ามเนื้อแขนส่วนปลายและข้อมือทําหน้าที่เสียไป ข้อมือตก นิ้วคลายกํามือไม่ได้ เรียกว่า Klumpke’ s paralysis
แนวทางการรักษา
ทํากายภาพบําบัด
ถ้าไม่หายอาจต้องทําศัลยกรรมซ่อมประสาท
ไม่เคลื่อนไหวแขน ในท่ากางหมุนแขนออก ข้อศอกตั้งฉากกับลําตัว
การพยาบาล
ดูแลให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่เคลื่อนไหว โดยจัดแขนให้อยู่ในท่าตามRx. ในท่าที่ผ่อนคลายที่สุด และให้มืออยู่ในท่าหงาย
ดูแลให้แขนที่ได้รับอันตรายได้ออกกําลัง หลังจากการรักษาพยาบาลในช่วงแรกดีขึ้น และส่งกายภาพบําบัด พยาบาลจะมีส่วนร่วมในการฟื้นฟู
ดูแลความสุขสบายและการผ่อนคลายให้ทารกที่ต้องตรึงแขน
ดูแลตอบสนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ จากการที่ถูกจํากัดการเคลื่อนไหว จึงควรเพิ่มความรัก แตะต้องสัมผัสมากกว่าปกติ
ช่วยให้มารดาและบิดามั่นใจในการดูแลทารก
skull injuries
Intracranial hemorrhage
เป็นภาวะที่เลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ อาจเกิดขึ้นที่ epidural, subdural, subarachnoid, intracerebral, subependymal, intraventricular
สาเหตุ
preterm labor
ขาดoxygenเป็นเวลานานขณะหรือหลังคลอด
การได้รับอันตรายรุนแรงจาการคลอด
complications
เลือดออกกดศูนย์หายใจทําให้เกิด fetal distress
mental retardation
S&S
Reflexน้อยลงหรือไม่มี โดยเฉพาะ moro reflex จะเสียไป
motor powerลดลง, fatique
ซีด หรือ cyanosis
ซึม ไม่ร้อง / ร้องเสียงแหลม
ดูดนมไม่ดีหรือไม่ยอมดูดนม
การหายใจผิดปกติ มีหายใจเร็วตื้น ช้า ไม่สม่ำเสมอ หรือหยุดหายใจ
กระหม่อมโป่งตึง
ชัก
แนวทางการรักษา
ถ้ามีความดันในกะโหลกศีรษะสูง อาจได้รับการรักษาโดยเจาะน้ำCSFเพื่อลดความดันในสมอง
keep warm ถ้า hypothermia
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชัก และให้vit K
หากมีพร่องoxygenให้oxygenทดแทน
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน รบกวนให้น้อยที่สุด พลิกตะแคงตัวทารกได้แต่ไม่บ่อยครั้ง ควรทําหลังจากให้นมไปแล้วและต้องทําด้วยความระมัดระวัง
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวก ได้รับoxygenอย่างเพียงพอ ควรสํารวจปริมาณoxygenที่ได้รับ ไม่ควรเกิน 40% หรือตามRx.
ให้ทารกอยู่ในincubator เพื่อให้อุณหภูมิร่างกายคงที่
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำที่เพียงพอ
เตรียมเครื่องมือresucsitateไว้ให้พร้อม ได้แก่ เครื่องsuction, ลูกยางแดง, oxygen, laryngoscope, endotracheal tube และเครื่องช่วยหายใจ
obs. and record v/s q 2-4hr.
ดูแลฉีดVit K 1mg IM เพพื่อป้องกันเลือดที่จะออกเพิ่ม
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดา ลดความวิตกกังวล
Caput succedaneum
การคั่งของของเหลวระหว่างชั้นของหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ ก้อนบวมนี้จะข้ามsuture ของกระดูกกะโหลกศีรษะ มีขอบเขตไม่แน่นอน
สาเหตุ
แรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะ ทําให้มีของเหลวไหลซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
การใช้vacuum extraction
S&S
สังเกตพบได้ด้านข้างของศีรษะ ลักษณะการบวมของก้อนจะมีความกวา้งและมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน ทําใหศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
ถ้าเกิดจากการใช้ V/E จะหายช้ากว่าคลอดปกติ
จะหายไปได้เองภายหลังคลอด
ประมาณ 2-3 days
บทบาทการพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้น
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงของก้อนบวมที่ศีรษะ
บันทึกอาการและการพยาบาล
Cephalhematoma
เรียกว่า ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ เป็นการคั่งของเลือดบรเิวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ มีขอบเขตชัดเจน
สาเหตุ
มารดามีระยะคลอดยาวนาน ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอดหรือการใช้V/E ทําให้หลอดเลือดฝอยบรเิวณเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะของทารกฉีกขาด เลือดจึงซึมออกมานอกหลอดเลือดใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
complications
ในรายอาการรุนแรง ก้อนโนเลือดมีขนาดใหญ่จะเกิดภาวะระดับบิลลิรูบินในเลือดสูงภายหลังเกิด หรืออาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือดในกรณีมีRx.
S&S
จะปรากฏให้เห็นชัดเจนหลัง 24hrs.ไปแล้ว เนื่องจากเลือดจะค่อยๆซึมออกมานอกหลอดเลือด ลักษณะการบวมจะมีขอบเขตชัดเจนบนบรเิวณกระดูกกะโหลกศีรษะชนิดใดชนิดหนึ่ง ในรายที่เป็นรุนแรงอาจพบอาการแสดงทันทีหลังเกิด และพบว่าก้อนโนเลือดมีสีผิดปกติคือ เป็นสีดําหรือน้ำเงินคล้ำ เนื่องจากการแข็งตัวของเลือด และอาจพบว่าทารกมีภาวะซีดได้จากการสูญเสียเลือดมาก
แนวทางการรักษา
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและhyperbilirubinemia จําเป็นต้องได้รับphototherapy
รายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
ถ้าไม่มีcomplications ก้อนโนเลือดจะค่อยๆหายไปเองได้ แต่อาจใช้เวลาหลายwks หรือเป็นเดือน
บทบาทการพยาบาล
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับบก้อนโนเลือด ป้องกันการกดทับที่จะกระตุ้นใหเ้ลือดออกมากขึ้น
สังเกตอาการซีด เจาะHct ดูแลให้เลือดตามRx.
สังเกต ลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาวะเลือดออกในสมอง
หาค่า microbilirubin ถ้ามีภาวะตัวเหลือง ให้ทารกได้รับการส่องไฟตามRx.
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการ และแนะนําไม่ใช้ยาทาหรือนวดประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
บทบาทการพยาบาล
ทารกถูกตรึงร่างกายตามRx. ดูแลให้ทารกได้รับนมมารดาความความเหมาะสม
ดูแลความสุขสบายจากการขับถ่าย ป้องกันการระคายเคือง
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย ป้องกันอันตราย ดูแลให้ทารกได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจแก่ทารก
จัดการพยาบาลไม่ให้เคลื่อนไหวร่างกายทารกบ่อยๆ เพื่อให้อยู่นิ่งส่งเสริม การหายและบรรเทาความเจ็บปวด
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
ดูแลไม่ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหว และจัดให้อยู่ในท่าที่ถูกต้องตามRx.