Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวกชกร ธนกรกิจสกุล 612001003 รุ่น 36/1 -…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง
จ้าแนก
น้าหนัก
Low birth weight infantinfant
Normal birth weight infantinfant
อายุครรภ์
ทารกเกิดก่อนกาหนด < 37 สัปดาห์
ลักษณะ
น้ำหนักน้อย ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fatfat) น้อย
หายใจไม่สม่าเสมอ มีการกลั นหายใจเป็นระยะ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบา หัวนมมีขนาดเล็ก ท้องป่อง
ทารกแรกเกิดครบกาหนด
ทารกแรกเกิดหลังกาหนด
สาเหตุ ปัจจัยส่งเสริม
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
แฝด มารดาติดยาเสพติด
เศรษฐานะไม่ดี
อายุน้อยกว่า 1616ปี หรือมากกว่า 3535ปี
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกาหนด
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบ
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้าตาลในเลือดต่้า
ภาวะขาดน้า
น้าหนักลด
ภาวะล้าไส้เน่า
ภาวะหยุดหายใจ
ภาวะเลือดออก
อัตราการตายเพิ่มขึ้น
อุณหภูมิกายต่ำ
อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5o C ( วัดทางทวารหนัก)
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคลา หยุดหายใจ หายใจลาบาก ปลายมือ ปลายเท้าเย็น
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกาหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกาหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกาหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTENTE) 32-34องศาเซลเซียส
ใช้ warmerwarmer, incubatorincubatorหรือผ้าห่มห่อตัว
ระวัง “Cold stressstress”
การรักษาในตู้อบ
1 ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จาเป็น
2 ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก4 ทาง
3 ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก4ชม.และปรับให้เหมาะสม
4 เช็ดทาความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกใน Incubator
เกณฑ์ปรกติคือ 37 o C (+/ 0.2 o C)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ่นครั่งละ 0.2๐C ทุก 15 ,30 นาที (จาก 36max 38 o C)
ควรใส่ปรอทสาหรับวัดอุณหภูมิตู้อบ
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
RDS (Respiratory
Distress Syndrome)
ภาวะหายใจลาบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
อาการ
หายใจลาบาก หายใจเร็ว จมูกบาน หายใจมีการดึงรั งของกล้ามเนื้อทรวงอก หายใจมีเสียง Grunting
อาการเขียว
ground glass appearance
ภาวะเลือดเป็นกรด
การป้องกัน
ไดรับ antenatal corticosteroids
เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างสารลดแรงตึงผิว
นิยมใช้
Betamethazone
Dexamethazone
ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การรักษา
การให้ออกซิเจน
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทาให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
รักษาแบบประคับประคอง
AOP (Apnea of
Prematurity)
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
central apnea apnea
หยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
สาเหตุมาจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทางานได้ไม่ดี
obstruction apnea apnea
หยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
เกิดจากการงอหรือการเหยียดลาคอเกิน
สาเหตุ
Prematurity
Infection
Metabolic disorder
Impaired oxygenation
Gastroesophageal reflux
CNS problems
Drug
การดูแล
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน suctionเมื่อจ้าเป็น
ระวัง การส้าลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
BPD (Bronchopulmonary Dysplasia)
ROP (Retinopathy of
Prematurity)
ความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดกอนกาหนดที่มีน้าหนักน้อย
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี ยงและจอประสาทตา
ระยะเวลาการตรวจหา
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4-6สัปดาห์
ถ้าไม่พบการด้าเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4สัปดาห์
ถ้าพบว่ามีการด้าเนินของโรคอยู่ตรวจซ้าทุกอาทิตย์
ปัญหาการติดเชื้อ
NEC (Necrotizing Enterocolitis
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
•-ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
•-แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื อ เฝ้าระวังภาวะล้าไส้ทะลุ
ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
Neonatal Jaundice
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intraventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
Hypoglycemia
NEC,GER
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
•-gavage feedingfeeding(OG tubetube) ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูด กลืนไม่ดี
•-IVFIVFให้ได้ตามแผนการรักษา
•-ระวังภาวะ NECNEC: observeobserveอาการท้องอืด contentcontentที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้าหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15 3030กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
ทารกครบกาหนดที่มีปัญหา
Hyperbilirubinemia
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice jaundice)
สาเหตุ
สร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทาลายเม็ดเลือดแดง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ้น
มีการกาจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อนาดีอุดตัน
Breastfeeding jaundice
Breastmilk jaundice syndrome
ทำให้เกิด kernicteruskernicterusเข้าสู่เซลล์สมอง [และทาให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
นาหนักตัวลดลง ภาวะเสียนามาก
ตาบอด
อุณหภูมิร่างกายสูงหรือต่ากว่าปกติ
มีผื่นขึ นตามตัว
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา
จัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่าและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4ชม เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4ชม
ตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย แคลเซียมในเลือดต่า นาตาลในเลือดต่า ตัวเย็น ติดเชื อ
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
น้ำตาลในเลือดต่ำ
น้าตาลในพลาสมาต่้ากว่า 40 mg%
อาการแสดง : ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่้า ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด
มีภาวะเครียดทั งขณะอยู่ในครรภ์
การรักษา
นาตาลน้อยกว่า 40มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
ทารกไม่มีอาการ
ติดตามระดับนาตาลในเลือด 30นาทีหลังให้นมมื้อแรก
น้อยกว่า 25มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
25-40มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
การดูแล
ตรวจหาระดับน้าตาล ภายใน 1 2 ชม.หลังคลอด
น้าตาลในเลือดต่า ตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
MAS
การดูแล
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ นทั งระยะสั นและระยะยาว
การดูแลทางโภชนาการ
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลภาวะน้าหนักตัวแรกเกิดลด
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื อ
การพยาบาล
เป้าหมายที่สาคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ความรุนแรง
รุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
รุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง
รุนแรงน้อย หายใจเร็วระยะสั้นๆ
ภาวะขี้เทาปนในนาคร่าจึงอาจเป็นได้ทั้งข้อบ่งชี้ และสาเหตุของความผิดปกติของทารกในครรภ์(fetal distress) และภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์และเมื่อแรกเกิด (perinatal asphyxia
ทารกต้องมีอาการ
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100ครั้งต่อนาที
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous
นางสาวกชกร ธนกรกิจสกุล 612001003 รุ่น 36/1