Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
การหายใจ
การประเมินการหายใจ
-
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือ ผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากำลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจในผู้ใหญ่ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก ในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
-
-
-
-
-
-
-
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
-
-
ทำงานของอวัยวะของ ร่างกายที่สำคัญมากต่อชีวิต ได้แก่ หัวใจ ปอด สมอง การทำงานของระบบไหลเวียนเลือด และระบบ หายใจ
-
-
-
ชีพจร
-
-
การประเมินชีพจร
-
-
-
นิยมใช้คลำที่ radial artery จะได้ radial pulse ที่ข้อมือด้านนิ้วหัวแม่มือ เป็นต่ำแหน่งที่ง่ายต่อการจับและ สะดวกสำหรับผู้ป่วย
-
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบาๆตรง radial artery รู้สึกถึงการหดตัว และ ขยายตัวของหลอดเลือด
นับชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งที่ต้อง สังเกต อัตรา (จำนวน/ต่อนาที) จังหวะ มีความสม่ำเสมอ ปริมาตร ความแรง (เบาหรือแรง)
การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจแทน การคลำชีพจร เพราะในเด็กเล็กคลำชีพจรได้ไม่ชัดเจน
-
-
ข้อควรจำในการวัดชีพจร
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลำชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือ เต้นแรงอาจทำให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
-
-
อุณหภูมิของร่างกาย
-
เทียบค่าจากสูตร (Wight, 2017) °C = (°F – 32) 1.8
ระดับความร้อนของร่างกาย ซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้าง ความร้อนและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
-
-
-
-
-
-