Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
บทที่ 3
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พุทธศักราช 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา
กายภาพบำบัด
เทคนิคการแพทย์
27 – 31 ตุลาคม 2518 มีมติให้สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย หาแนวทางการจัดตั้งสภาการพยาบาล
พุทธศักราช 2480 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่ คือ พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พุทธศักราช 2479
แผนโบราณ
แผนปัจจุบัน
5 กันยายน พุทธศักราช 2528 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พุทธศักราช 2528”
พุทธศักราช 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบ โรคศิลปะเป็นการกระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
พุทธศักราช 2534 คณะกรรมการสภาการพยาบาลในสมัยนั้นเห็นควรให้ปรับปรุงสาระสำคัญ
การกำหนดขอบเขตของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์
จำนวนกรรมการสภาการพยาบาล
คำนิยามการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การเลือกนายกสภาการพยาบาล
การสอบขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทุก 5 ปี
สมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการออกกฎหมายขึ้นควบคุมการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพ แก่ประชาชน
“การบำบัดโรคทางยาและทางผ่าตัด รวมทั้งการผดุงครรภ์ การช่างฟัน การสัตวแพทย์ การปรุงยา การพยาบาล การนวดหรือการรักษาคนเจ็บป่วยไข้โดยประการใดๆ”
“พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พุทธศักราช 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2540”
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พุทธศักราช 2540 จวบจนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สาหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล (Capacity)
ถ้าบุคคลบรรลุนิติภาวะ กฎหมายถือว่าบุคคลมีวุฒิภาวะที่จะตัดสินใจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
กฎหมายจะคุ้มครองผู้หย่อนความสามารถ เพื่อมิให้บุคคลนั้นถูกเอาเปรียบโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทั้งนี้บุคคลจะมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายนั้น ต้องมี “สภาพบุคคล หรือ มีชีวิต”
บุคคล
บุคคลธรรมดา
มนุษย์ที่มีชีวิตรอดภายหลังการคลอดจากครรภ์มารดา ในทางกฎหมายกาหนดให้สภาพบุคคลเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
การตายโดยธรรมชาติ
หมายถึง การป่วยตาย แก่ตาย หรือถูกฆ่าตายของบุคคล ทำให้สภาพบุคคลสิ้นสุด ก่อให้เกิดผลทางกฎหมายทั้งทางแพ่งและอาญา
ทางแพ่ง
บรรดาสิทธิหน้าที่ ความรับผิดและทรัพย์สินของผู้ตาย ย่อมตกทอดไปยังทายาท
ทางอาญา
โทษของผู้ตายที่กระทาผิด ย่อมระงับไปเพราะความตายของบุคคลนั้น
การสาบสูญ
การที่บุคคลได้ไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่า บุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ เป็นเวลาติดต่อกัน 5 ปี ในเหตุการณ์ปกติ หรือเป็นเวลา 2 ปี ในกรณีที่มีเหตุอันตราย
นิติบุคคล
หมายถึง สิ่งซึ่งกฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
คนไร้ความสามารถ
หมายถึง คนวิกลจริต (Unsound mind) หรือ อยู่ในภาวะผัก หากจำเป็นต้องทำนิติกรรมใดๆ ผู้อนุบาลต้องเป็นผู้ทำแทน
คนเสมือนไร้ความสามารถ
หมายถึง บุคคลที่ไม่สามารถจัดทำการงานโดยตนเอง ศาลจะสั่งให้ผู้นั้นอยู่ในความพิทักษ์
กายพิการ
จิตฟั่นเฟือน
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย
ติดสุรายาเมา
ผู้เยาว์
หมายถึง บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในทางกฎหมาย บุคคลจะพ้นจากการเป็นผู้เยาว์หรือบรรลุนิติภาวะใน 2 กรณี คือ อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ หรือการสมรส เมื่อหญิงและชายอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์
นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องกระทำเองเฉพาะตัว
นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานะและจำเป็นแก่การดำรงชีพ
นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์ได้ประโยชน์ สิทธิ หรือหลุดพ้นจากหน้าที่
นิติกรรมการจำหน่ายทรัพย์สิน ประกอบธุรกิจการค้า หรือสัญญาจ้างแรงงานที่ผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตหรือยินยอม ผู้เยาว์สามารถกระทำต่อเนื่องได้
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน จึงต้องให้ความยินยอมซึ่งกันและกันเป็นการทำนิติกรรมบางประเภท
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
หมายถึง ความเสียเปล่าของนิติกรรม ที่กระทำตั้งแต่ต้น
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
ได้แก่ ตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม หรือทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเป็นการพ้นวิสัยที่ไม่สามารถเป็นไปได้
โมฆียกรรม
หมายถึง การทำนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะกระทำ แต่สามารถบอกล้างหรือปฏิเสธนิติกรรมโดยผู้เสียหายในระยะเวลาที่
กฎหมายกำหนด มีผลให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมะะตั้งแต่เริ่มแรก เสมือนไม่ได้ทำนิติกรรมใด
การบังคับชำระหนี้
เป็นการชำระเงิน ส่งมอบทรัพย์สิน กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้ หรืองดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
หมายถึง การที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายให้กลับคืนสู่ฐานะเดิม
มากที่สุด
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
ได้แก่ นิติกรรมที่เกิดผลโดยการแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
ได้แก่ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
เช่น การให้โดยเสน่หา สัญญาการซื้อขาย
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
เช่น พินัยกรรม เป็นต้น
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
อาทิ สัญญาจ้างงาน สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
อาทิ การให้โดยเสน่หา สัญญายืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย เป็นต้น
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา
หมายถึง การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่จะกระทำหรืองดเว้นการกระทำ และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย
ความรับผิดจากการละเมิด
หมายถึง การกระทำหรืองดเว้นการกระทำ โดยจงใจหรือประมาทต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย จนเป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียหายแก่ชีวิต
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
หมายถึง การกระทำที่ทำให้บุคคลอื่นขาดประโยชน์ที่เคยได้รับ หรือได้รับความเสียหายต่อชีวิต
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
หมายถึง การประทุษกรรม หรือกระทำต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมายด้วยการฝ่าฝืนข้อห้าม
องค์ประกอบของนิติกรรม
การกระทำโดยเจตนา
เป็นการกระทาอย่างหนึ่งอย่างใดด้วยใจสมัคร เพื่อให้บุคคลภายนอกรับรู้ถึงความต้องการหรือเจตนาของตนที่จะทำนิติกรรมตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
อาจทำโดยวาจา เป็นลายลักษณ์อักษร หรือแสดงกิริยาที่ทำให้เข้าใจอย่างหนึ่งอย่างใด
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
เป็นการแสดงเจตนาไม่ชัดแจ้งแต่การกระทำอื่นๆ ที่ทำให้ต่างฝ่ายต่างเข้าใจว่า มีความประสงค์ใดในกิริยาเช่นนั้น
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
หมายถึง การกระทำที่กฎหมายให้อำนาจบุคคลกระทำได้โดยชัดแจ้ง หรือกฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่าห้ามกระทำ
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
หมายถึง ผู้กระทำนิติกรรมต้องแสดงออกในฐานะเอกชน มิใช่เจ้าพนักงานของรัฐ
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
หมายถึง ผลของการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งแก่คู่กรณีตามนิติกรรมนั้นๆ
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดที่ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตกระทำ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่า ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในหน้าที่การดูแล
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน ซึ่งกระทำตามที่ตัวการมอบหมาย
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราว จะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
นิติกรรม
นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
อายุความ
อายุความ
คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัวผู้กระทำละเมิด และไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันทำละเมิด
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วนบริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
กฎหมายแพ่ง
เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
ผู้กระทำต้องรู้สึกตัวและรู้ว่าตนกาลังทำสิ่งใด
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิดจนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
ในทางอาญาถือว่าผู้กระทำต้องมีเจตนาที่จะกระทำผิดเสมอจึงจะลงโทษ
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
หมายถึง การกระทำที่โดยทั่วไปกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด แต่ถ้ามีเหตุการณ์หรือสภาพแวดล้อมบังคับให้ผู้กระทำต้องกระทำเช่นนั้น
เหตุยกเว้นโทษ
หมายถึง การกระทำที่เป็นความผิดทางอาญาที่ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ หากมีเหตุอันควรที่กฎหมายระบุ
เหตุลดหย่อนโทษ
หมายถึง มีพฤติการณ์หรือเหตุการณ์ที่น่าเห็นใจ หรือมีเหตุเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด ให้หย่อนโทษได้
อายุความ
หมายถึง ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้ต้องฟ้องร้องผู้กระทำความผิด
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
ระยะเวลาของอายุความแปรตามอัตราโทษตามความผิด
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
ลหุโทษ
หมายถึง ความผิดที่ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษประหารชีวิต
โทษริบทรัพย์สิน
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทาหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทาให้หญิงแท้งลูก
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
เป็นความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและ สังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว
เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว และกฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๘
โทษสาหรับลงแก่ผู้กระทำความผิดมีดังนี้
(๓) กักขัง
(๔) ปรับ
(๕) ริบทรัพย์สิน
(๒) จำคุก
(๑) ประหารชีวิต
มาตรา ๑๙
ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
มาตรา ๒
บุคคลจักต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
บัญญัติว่าการกระทำใดเป็นความผิด และกำหนดโทษอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน
ประเด็นการประกอบวิชาชีพที่อาจเกิดปัญหาทางด้าน
กฎหมาย
ประเด็นการประกอบวิชาชีพที่อาจเกิดปัญหาทางด้าน
จริยธรรม
นางสาวจุฑามาศ โยระภัตร 6001210972 เลขที่ 44 Sec A