Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา, การเรียกชื่อยา,…
บทที่1 ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาที่มีไว้สำหรับใช้ภายนอก ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาที่สำหรับใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และทวารหนัก
ยาควบคุมพิเศษ
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ ได้รับใบสั่งยาจากแพทย์เท่านั้น
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาที่๔ูกบรรจุไว้ในภาชนะหรือหีบห่อโดยมีฉลากครบถ้วนตาม
ยาแผนโบราณ
ยาที่มุ่งสำหรับประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือบำบัดโรคสัตว์ โดยอยู่ในตำราแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์หรือแร่
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่มุ่งหมายใช้สำหรับประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบำบัดโรคสัตว์
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ตำแหน่งออกฤทธิ์ทางกายวิภาค เช่นยาออกฤทธิ์ต่อระบบไหลเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบทางเดินปัสสาวะ
แหล่งที่มาของยาหรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา เช่น ไอโอดีนจากแร่ธาตุ ยากลุ่มกลัยโค"ซด์ที่ได้จากพืช
ประโยชน์ในการรักษาอาจใช้ร่วมกับการแบ่งยาการออกฤทธิ์ทางกายวิภาคด้วย
กลไลการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เช่นยาที่บีบรัดลำไส้ ยาที่กระตุ้นประสาท
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์ ใช้ ตับ ตับอ่อน ดีหมู ดีวัว
จากแร่ธาตุ เช่น ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
จากพืช ใช้ราก ใบ ลำต้น ผล เมล็ด เปลือก
จากการสังเคราะห์ จะอาศัยทางห้องปฏิบัติการ เช่น เกลือของเหล็ก ใช้บำรุงโลหิต
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อการให้ยาแก่ผู้ป่วย
พยาบาลต้องมีคุณธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดไว้ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ(Gargale)
ยาอมบ้วนปาก(Mouthwash)
ยาหยอดจมูก(Nasal preparations)
ยาหยอดหู(Otic preparations)
ยาสวนล้าง(lrrigation)
ยาจิบ(Linctuses)
ยาน้ำเชื่อม(Syrups)
ยาน้ำใส(Solutions)
น้ำปรุง(Aromatic water)
ยาน้ำสวนทวารหนัก(Enemas)
ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาโคโลเดียน
มีฤทธิ์ลอกผิวหนัง
ยากลีเซอริน
ลักษณะข้นเหนียว
ยาสปริริต
มีแอลกอฮอล์สูง
ยาถูนวด
ของเหลว
ยาอิลิกเซอร์
มีกลิ่นหอมและรสหวาน
ยาป้าย
ยาที่สมานแผล
ยาน้ำกระจายตัว
เจล(Gels)
ไม่ละลายน้ำ มีลักษณะเป็นเจล
Lotions
ยาแขวนตะกอนใช้ภายนอก
Magmas and Milk
ยาแขวนตะกอนคล้ายเจล
Mixtures
ยาน้ำผสม
ประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง(Oiltment)
ครีม(Paste)
ยาที่เป็นของแข็ง(solid form)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม(Lozenge)
ยาอมใต้ลิ้น(Sublingual)
ยาผงแดงฟู่(Effervescent powder)
ยาเม็ด(Tablet)
ยาผง(Pulveres)
ยาแคปซูล (Capsule)
ยาเหน็บ(Suppositories)
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง(Applications)
ยาพ่นฝอย(Spray)
เฉพาะที่
ยาฉีด(Injections)
อยู่ในรูปปราศจากเชื้อเท่านั้น
ยาดม(Inhalant)
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆที่มีต่อร่างกาย รวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยาด้วย
เภสัชกรรม
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ข้อดีและข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี ยาดูดซึมเร็ว ใช้กับยาฉีดที่ละลายได้ในน้ำมัน
ข้อเสีย ใช้ได้ไม่เกิน5 มิลลิลิตร
ยาพ่นฝอย
ข้อดี ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย ปริมาณที่ได้ไม่แนนอน
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี ออกฤทธิ์ได้นาน
ข้อเสีย ยาบางชนิดระคายเคือง
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อเสีย เกิดพิษไม่สามรถเอาออกได้ต้องฉีดยาที่ต้านเข้าไปแทน
ข้อดี ออกฤทธิ์เร็ว ใช้กับตนหมดสติได้
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี ออกฤทธิ์เร็วดดยไม่ผ่านตับ
ข้อเสีย ยาระคายเคืองกับเยื่อบุภายใน
ยาเหน็บ
ข้อดี ดีกับคนทานยายาก
ข้อเสีย อาจเกิดการติดเชื้ออวัยวะภายในได้
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี สะดวกปลอดภัย เกิดพิษเอาออกได้
ข้อเสีย ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า
ความหมายของยา
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่มุ่งสำหรับใช้วินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
วัตถุรับรองไว้ในตำราที่รัฐมนตรีประกาศ
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ยา กับ receptor ต้องจับกันถึงยาจะออกฤทธิ์ได้
ขนาดของยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดกับร่างกาย
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action เช่น ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
Physical action เช่น ยาระบาย
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
ตัวรับ Receptor
จดจำและจับกับสารที่มีโครงสร้างจำเพาะเจาะจง
Agonist
มีสมบัติจับกับ efficacy และ potency
Antagonist
ตำแหน่งไม่เท่ากันแล้วยังไปยับยั้งอีกตัวไม่ใหเข้า จะไม่มี Efficacy
Partial agonist
ยาออกฤทธิ์บางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy คือ ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency คือ ความแรงของยา
Affinity คือ ความสามารถของยาในการเข้าจับกับreceptor
ระดับความปลอดภัยของยา(Therappeutic index)
มักทดลองกับหนู
สัดส่วนที่ใช้ยา ขนาดยาที่ให้หนูตาย50% และผลในการรักษาอีก50%
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การกระจายตัวของยา(Drugs distribution)
ยาที่อยู่ในรูปของเหลวจะกระจายตัวได้ดีกว่ายาที่มีรูปแบบแข็ง
การจับตัวของยาในโปรตีนพลาสมาถ้ามากจะกระจายตัวลดลง
จะมีปริมาณการไหลเวียนของเลือดได้รวดเร็ว
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
มีการไปสะสมที่อวัยวะอื่นๆซึ่งจะทำให้ออกฤทธิ์ได้ช้า
การแปรสภาพยา(Drug metabolism)
ยาที่ออกฤทธิ์ได้ดีต้องละลายในไขมันและจะถูกดูดซึมได้ดี
ยาที่หมดฤทธิ์จะต้องละลายได้ดีในน้ำ
เอมไซม์ที่ทำหน้าที่
ตับ เป็นอวัยวะที่สำคัญในการแปรสภาพยา
การเปลี่ยนแปลงยาปกติ
Phase I reaction
อาศัยเอมไซม์ cytochrom P450
Phase II reaction
เมื่อมีการละลายไม่ดีจะถูกทำให้ละลายน้ำได้ดีขึ้นโดยการรวมตัว(conjugation) กับ endogenous compound
ปัจจัย
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยา
ถ้าให้ยารวมกับยาอื่นจะมีการออกฤทธิ์ลดลงเพราะมี enzyme cytochrome P450 เพิ่มขึ้น
ยามีการยับยั้งเอมไซม์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย(Drug absorption)
การดูดซึม หมายถึง อัตราและปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ตัวยา
รูปแบบของยาและการผลิต อย่าง ยาน้ำใสจะถูกดูดซึมได้ดีกว่ายาแขวนตะกอน
ขนาดยาที่ให้ เพราะเป็นตัวกำหนดความเข้มข้นของยาในจุดออกฤทธิ์
ขนาดน้ำหนักโมเลกุลต่ำจะมีการดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่มีขนาดนน้ำหนักโมเลกุลของยาสูง
คุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน จะถูกดูดซึมได้ดี
ผู้ป่วย
การบริหารยา
ให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
ยาแบบสูดดม(inhalation)
ให้ยาโดยการฉีด
ใต้ผิวหนัง(subcutaneous) < กล้ามเนื้อ (muscle) < หลอดเลือดดำ(intravenous)
ให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
ยาอมใต้ลิ้นจะถูกดูดซึมผ่านได้ดีเพราะมีหลอดเลือดฝอยใต้ลิ้น
ให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
ปัจจัยที่สำคัญในการถูกดูดซึมคือละลายได้ในไขมัน จะถูกดูดซึมได้ดี
ให้ยาผ่านทางอาหาร(alimentary route)
ข้อเสียคือยาบางตัวจะมีการ first pass effect เข้าตับสองรอบ ทำให้ระดับยาในหลอดเลือดลดลงและการรักษาก็ลดลงตาม
ด่างจะถูกดูดซึมได้ดีเช่น มอร์ฟีน ถูกดูดซึมดีที่ลำใส้เล็ก
มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนจะถูกดูดซึมได้ดี เช่น ยาแอสไพริน ถูกดูดซึมดีที่กระเพาะอาหาร
ให้ยาแบบเหน็บทวารหนัก
จะมียาออกฤทธิ์เฉพาะที่กับยาที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
Bioavailability คือ สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
การขับถ่ายยา(Drug excretion)
จะขับยาออกทางไต ตับ น้ำดี และปอด
คือ ร่างกายจะจัดการอย่างไรกับยาที่ได้รับ
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
การแปรผันและการตอบสนองต่อยา
มีการแพ้ยา ต่อต้านยา
Tolerance ดื้อยา ผู้ป่วยต้องใช้ยาที่แรงขึ้น
Hyperactivity ตอบสนองต่อยามากกว่าปกติ
Placebo effect ยาหลอก
Hyporeactivity
ตอบสนองต่อยาน้อย
Idiosyncrasy ไม่ค่อยพบ
สาเหตุการตอบสนองที่ต่างกัน
มีความแตกต่างของ endogenous receptor ligands
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวน
มีการเปลี่ยนแปลงของยาที่จะไปถึงตัวรับ
มีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะที่ตอบสนอง receptor
การเรียกชื่อยา
ตามสูตรเคมี(chemical name)
เรียกตามลักษณะส่วนประกอบทางเคมีของยา
ตามการค้า(trade name) ชื่อที่ผู้ผลิตตั้งเองและขอจดทะเบียนกับสาธารณะสุข เช่น Sara Paracetamol
สามัญทางยาหรือชื่อยา(generic name) ยาที่มีฤทธิ์เหมือนกันจะอยู่กลุ่มเดียวกัน
คำสำคัญเภสัชจลนศาสตร์
ค่าครึ่งชีวิต(Haif life)
ระยะที่ทำให้ความเข้มข้นของยา50%ซึ่งเป็นตัวกำหนดในการให้ยา
Loading dose ใช้แล้วจะเห็นผลทันที