Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
2.3ชีพจร
2.3.2 การประเมินชีพจร
การคลำชีพจร นิยมคลำตามตำแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้าง ๆ กระดูกและมัก เรียกชื่อชีพจรตามตำแหน่งของหลอดเลือดที่จับได้มี ดังนี้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การประเมินชีพจร
-
3.วิธีการปฏิบัติ
-
-
พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางกดลงเบา ๆ ตรง Radial artery ของ ผู้ป่วยทำให้รู้สึกถึงการหดตัว และขยายตัวของหลอดเลือด
ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งที่ต้องสังเกต คือ อัตรา (จำนวน/ต่อนาที) จังหวะ การเต้นมีความสม่ำเสมอ และปริมาตรความแรง (เบาหรือแรง)
การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจแทน การคลำชีพจร เพราะในเด็กเล็กคลำชีพจรได้ไม่ชัดเจน
-
-
-
4. ข้อควรจำในการวัดชีพจร
-
-
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลำชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือ
เต้นแรงอาจทำให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
-
2.4 การหายใจ
2.4.2 การประเมินการหายใจ
การประเมินการหายใจ เป็นการนับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจ 1 ครั้งไป จนครบ 1 นาทีเต็มมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการทำงานของปอด และทางเดินของลมหายใจ มี รายละเอียดดังนี้
1. อุปกรณ์
-
- กระดาษและแบบฟอร์มการบันทึก
-
2. วิธีการปฏิบัติ
-
- บอกให้ผู้ป่วยทราบและขออนุญาตจับต้องตัวผู้ป่วย
- เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือ ผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากำลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
- นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจ ในผู้ใหญ่ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก ในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
- ประเมินการหายใจเต็ม 1 นาที
-
-
-
-
2.2 อุณหภูมิของร่างกาย
-
-
อุณหภูมร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกาย เป็นระดับความร้อนของร่างกาย ซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้าง ความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส (°C) หรือองศาฟาเรนไฮต์(° F) โดยสามารถเทียบค่าจากสูตร
-
-
-
-
-
-
-