Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขและสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเท่าเ…
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขและสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียมใน
ระยะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีการฝากครรภ์อย่างน้อย 1 ครั้ง
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (60 %ขึ้นไป)
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน เหล็ก และกรดโฟลิก ตลอดการตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด 6 เดือน
- ค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ไม่น้อยกว่า 150 ไมโครกรัม/ลิตร
- ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักน้อย
ตัวชี้วัด
- ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มเพิ่มน้ำหนักดี
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย
- ร้อยละของคู่สมรสที่ผลตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียผิดปกติได้รับการตรวจ Hb. typing
- ร้อยละของคู่สมรสที่ทารกมีความเสี่ยงจะเป็นโรคธาลัสซีเมียได้รับการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก
- ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
มาตราการ
- พัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็กให้ได้มาตรฐานและการเข้าถึง
บริการอย่างเท่าเทียม
- ขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์โดยคณะกรรมการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในระดับ
ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพจังหวัด และอำเภอ
- ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้ารับความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้
สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
- จัดบริการให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังน้ำหนัก เพื่อให้มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์และ ได้รับ
อาหารที่เหมาะสมตลอดการตั้งครรภ
- จัดบริการให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน เหล็ก และกรดโฟลิก ตลอดการตั้งครรภ์
จนถึงหลังคลอด 6 เดือน
-