Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ - Coggle Diagram
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
สายสะดือย้อย
สาเหตุ
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้น (Breech presentation) ท่าขวาง (Transverse lie)
ตั้งครรภ์แฝดเด็กหรือแฝดน้ำ
ทารกมีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ (Small for gestational age)
ส่วนนำไม่กระชับกับช่องทางคลอด
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนด
สายสะดือยาวกว่าปกติ โดยเฉพาะถ้ายาวเกิน 75 ชม.
การพยาบาล
สังเกตและบันทึกลักษณะการเต้นของหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด
2.บันทึกลักษณะการเต้นของหัวใจทารกที่ผิดปกติอย่างต่อเนื่อง ประเมินการเต้นของหัวใจทารก ( FHS )
ดูแลมารดาให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในท่าเข่าชิดอก (Knee-chest position) หรือท่านอนก้นสูง (Sleep Trendelenburg)
ให้ออกซิเจนแก่มารดา 8 – 10 ลิตร/นาที
สวมถุงมือ Sterile แล้วดันส่วนนำไม่ให้กดทับบริเวณสายสะดือจนกว่าการคลอดจะสิ้นสุดลง
ห้ามดันสายสะดือที่โผล่พ้นออกจากช่องคลอดกลับเข้าไปใหม่
รายงานแพทย์เพื่อให้การดูแลรักษาโดยเร็ว
พยายามช่วยให้ทารกคลอดออกมาโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
เปิดโอกาสให้ผู้คลอดระบายสิ่งที่วิตกกังวลกังวล
ความหมาย
สายสะดือย้อยหรือสายสะดือแลบ หมายถึง ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้าง ๆ หรืออยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์
ชนิดของสายสะดือย้อย
Overt prolapsed cord พบว่าสายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ พ้นจากปากมดลูกมาอยู่ในช่องคลอด หรือโผล่พ้นปากช่องคลอด
Forelying cord หรือ Funic presentation
Occult prolapsed cord สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ อยู่ข้าง ๆ ส่วนนำของทารกในครรภ์
มดลูกแตก
ความหมาย
ภาวะที่ผนังมดลูกแตกหรือปริออก ส่งผลให้ทารกในครรภ์และน้ำคร่ำหลุดออกมาจากมดลูกและทำให้ทารกเสียชีวิตได้
สาเหตุ
3.มีประวัติการขูดมดลูกที่มีปัญหา มดลูกทะลุมาก่อน
4.การเจ็บคลอดที่ยาวนาน
2.มีประวัติการผ่าตัดเนื้องอกมดลูก
5.ท่าของทารกที่ไม่ปกติ
1.มีประวัติการผ่าตัดคลอดบุตรมาก่อน
การพยาบาล
สังเกตอาการเตือนของภาวะมดลูกแตกโดยการบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวเข้าใจทางการรักษาและให้การสนับสนุนด้านจิตใจแก่ผู้คลอดและครอบครัวเพื่อคลายความวิตกกังวล
ซักประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดโดยละเอียดเพื่อค้นหาปัจจัยส่งเสริมที่ก่อให้เกิดภาวะมดลูกแตก
เตรียมผู้คลอดสำหรับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
อาการและอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวแรงหรือตลอดเวลา
พบ Bandl's ring
ปวดท้องรุนแรง อาจมี N/V หรือหายใจติดขัดแน่นหน้าอก
ฟัง FHS ไม่ได้
ส่วนนําไม่เคลื่อนต่ำ มี capit succedaneum
อาจพบ round ligament แข็งและเจ็บ
รกค้างรกติด
การพยาบาล
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
สวนปัสสาวะ
ถ้าสวนปัสสาวะแล้วมดลูกยังหดรัดตัวไม่ดีขึ้น ควรใช้ฝ่ามือคลึงเบาๆ ที่ยอดมดลูก
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด เพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามีการหดเกร็ง ของปากมดลูก (cervical cramp)
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก
ความหมาย
ชนิด
Placenta adherent
ภาวะที่รกเกาะติดแน่นกับผนังมดลูก
Placenta accreta
รกจะฝังติดบรเิวณผิวของมดลูก
Placenta increta
รกจะฝังติดบรเิวณกล้ามเนื้อมดลูก
Placenta percreta
รกฝังติดบรเิวณ
แนวของกล้ามเนื้อ
การที่รกไม่หลุดหรือไม่คลอดออกมาหลังตัวทารกคลอดแล้วภายในประมาณ 30 นาทีแบ่งเป น 2 กลุ่มคือ
รกไม่คลอดทั้งอัน /ทั้งรก
รกคลอดเพียงบางส่วนมีเศษรกค้างในโพรงมดลูก
สาเหตุ
โรคติดเชื้อทางระบบสืบพันธุ์ในส่วนของรก (Placenta)
ความผิดปกติในตัวลูก
คลอดก่อนกำหนดหรือแท้งจากสาเหตุต่างๆ
การขาดวิตามินและแร่ธาตุบางอย่าง
คลอดยาก
การใช้ยากลุ่มสตีรอยด์ (steroid)
มดลูกปลิ้น
สาเหตุ
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
การเพิ่มขึ้นของแรงดันภายในช้องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
ความหมาย
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาอยู่ด้านนอกโผล่ออกมาทางช่องคลอด แบ่งเป็น 3 ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete inversion) มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion) มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด (Prolapsed of inverted uterus)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกทางช่องดคลอดและมีอาการปวดหรือช็อกร่วมด้วย
พบยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
ตรวจภายในจะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูก
ช่องคลอดหรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
การพยาบาล
ประเมินและบันทึกปริมาณเลือด ลักษณะเลือดที่ออกทางช่องคลอด ทุก 1 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และคลึงมดลูกจนมดลูกหดรัดตัวกลมแข็ง
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 30 นาที พร้องทั้งคลำชีพจร
ดูแลให้พักผ่อนนอนหลับบนตียงอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับเลือดชนิดเม็ดเลือดแดง 1 ยูนิต ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินระดับความรู้สึกตัวโดยใช้แบบประเมิน Glasgow coma score สังเกตอาการของภาวะช็อก
ตกเลือดหลังคลอด
ความหมาย
การเสียเลือด 500 มิลลิลิตร หรือมากกวาหลังจากคลอดระยะที่ 3 เสร็จสิ้นหรือ>1% ของน้ำหนักตัวถึงระยะที่ 3 ของการคลอดความเข้มข้นของเลือดลดลงร้อยละ 10 ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอด แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่
การตกเลือดหลังคลอดทันที (Early or immediate ,PPH)
การตกเลือดหลังคลอดภายหลัง (Late or delayed ,PPH)
สาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony)
เศษรกตกค้าง (Retained placental fragments)
รกฝังตัวแน่นผิดปกติ (Placenta accreta)
การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Genital tract lacerations)
มดลูกแตก (Uterine rupture)
ก้อนเลือดขังในช่องคลอด (Vaginal hematoma)
อาการและอาการแสดง
อ่อนแรง เหงื่อออก ชีพจรเร็ว
กระสับกระส่าย ซีดปัสสาวะออกน้อย
ใจสั่น มึนงง ชีพจรเร็ว
หมดสติ ขาดอากาศ ไม่มีปัสสาวะ
การพยาบาล
ประเมินอาการอาการแสดงของภาวะเลือดออกหลังคลอดโดยการสังเกต
บันทึกสัญญาณชีพทุก 15 นาที
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
ตรวจสอบความสมบูรณ์ในการลอกตัวของรกหลังการคลอดรก
คลึงมดลูกจนหดรัดตัวกลมแข็ง และกดไล่ก้อนเลือดที่อาจค้างในมดลูก
ใส่สายสวนคาปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
เจาะเลือดดูความเข้มข้นของเลือด(Hct) ตามแผนการรักษา
สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1 ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว (hemodynamiccollapse) ผู้คลอดจะเริ่มจากหายใจลาบากแน่นหน้าอก เขียวตามปลายมือปลายเท้า ใบหน้า และลำตัว เกิดขึ้นแบบทัันทีทันใด
ระยะที่ 2 ภาวะเลือดไม่แข็งตัว(coagulopathy) อาจพบมดลูกหดรัดตัวไม่ดี มีการตกเลือดหลัง
คลอด ตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำ และระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนาน เกิดภาวะ DICและเสียชีวิตในที่สุด
สาเหตุ
1) การหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรง หรือได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
2) ถุงน้ำคร่ำแตกทำใหเ้กิดช่องทางติดต่อในการที่น้ำคร่ำจะหลุดเข้ากระแสเลือดได้
3) ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
4) รกรอกตัวก่อนกำหนด
5) ปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น น้ำคร่ำมีขี้เทาปน การคลอดเฉียบพลัน รกเกาะต่ำ เป็นต้น
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
จัดท่าผู้คลอดให้นอนราบ และตะแคงศีรษะ ดูดน้ำลายหรือสารคัดหลั่ง
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดหน้ากากครอบปากและจมูก ปริมาณออกซิเจน 10 ลิตร/นาที
ประเมินสภาพตรวจเช็ค และเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมใช้งาน
เมื่อมีภาวะหยุดหายใจ ให้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพ
ึ7. ดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด บันทึกอาการและอาการเปลี่ยนแปลง
แจ้งญาติ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการและอธิบายแผนการรักษาให้ญาติมีส่วนร่วมตัดสินใจ
การคลอดเฉียบพลัน
สาเหตุ
แรงต้านทานที่เนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ครรภ์หลัง
เชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็ว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด(พบน้อยมาก)
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ความหมาย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์คลอดน้อยกว่า 4 ชั่วโมง
ครรภ์แรก : ปากมดลูกเปิด ≥5 cm./hr.
ครรภ์หลัง :ปากมดลูกเปิด ≥10 cm./hr.
ระยะที่ 1<3 Hr.
ระยะที่ 2 ˂10 นาที
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์อย่างมากUt.contraction I > 5 ครั้งใน 10 นาที
ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก Cx.dilate ≥ 5cm./hr
ครรภ์หลัง Cx.dilate ≥ 10cm./hr
การพยาบาล
การซักประวัติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรอืภาวะเสี่ยง การซักประวัติ เช่น มารดามีประวัติการใช้ยาและสารเสพติด ระยะเวลาของการเจ็บครรภ์จริง
การตรวจร่างกาย
การหดรัดตัวของมดลูก หดรัดตัวทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่าระยะเวลาการหดรัดตัวของมดลูกนานกว่า 75-90 นาที
ปากมดลูกมากกว่า 5 cm/hr ในครรภ์แรก และ มากกว่า 10cm/hr ในครรภ์หลัง
FHS เต้นช้ากว่าปกติ อาจมีอัตราต่ำกว่า 120 ครั้ง/นาที