Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case study
ANC, 6DD8D05D-BBCE-4E56-8577-CDBDA1F0CEDC, เชื้อเอชไอวี…
Case study
ANC
-
-
:check:Background
หญิงไทยอายุ 27 ปี G2P1-0-0-1 GA 26 +1 wks by date
LMP 17 ธันวาคม 2562 x 5 days EDC. 22 กันยายน 2563 by date
ANC ครั้งแรก 27 กุมภาพันธ์ 2563 GA 10+2 wks by date Total ANC 6 ครั้ง
ได้รับวัคซีนบาดทะยัดครบ 3 เข็ม ปี 2557
ปฏิเสธการผ่าตัด ปฏิเสธการแพ้ยา
-
-
ประวัติการเจ็บป่วย
ทราบว่าติดเชื้อ HIV ตั้งแต่ฝากครรภ์ลูกคนแรก พ.ศ. 2556 ปัจจุบันคนลูกคนแรกอายุ 7 ปี
รับประทาน ARV ตั้งแต่ตั้งครรภ์จนกระทั้งลูก 7 เดือน ได้หยุดยาเองเป็นเวลา 6 ปี
-
-
-
-
:check:พยาธิสภาพ
-
ไวรัสตับอักเสบบี
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B viral infection) หมายถึง การมีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย โดยแบ่งการดำเนินโรคได้เป็น
a. การติดเชื้อเฉียบพลัน (acute hepatitis B infection) หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในระยะแรก ถือที่การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 6 เดือน
b. การติดเชื้อเรื้อรัง (chronic hepatitis B infection) หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นระยะเวลามากกว่า 6 เดือน แบ่งได้เป็น
i. พาหะ (carrier) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
ii. ตับอักเสบเรื้อรัง(chronic hepatitis) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย และตรวจเลือดพบค่าการทำงานของตับผิดปกติ
-
d. ตับแข็งระยะท้าย (decompensated cirrhosis) หมายถึง ตับแข็งที่แสดงอาการทางคลินิก เช่น ท้องมานน้ำ ตัวเหลือง ตาเหลือง เป็นต้น
-
-
การคัดกรองการรักษา
การรักษาไวรัสตับอักเสบบี มุ่งเน้นเพื่อลดปริมาณไวรัสตับอักเสบบีในเลือด ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยลดระดับไวรัสตับอักเสบบีในตับลงด้วย
การรักษา
ยารับประทาน เป็นยาในกลุ่ม nucleoside analog reverse transcriptase inhibitor เช่น เป็นต้น โดยยาในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวเพิ่มของไวรัส จึงต้องทานตลอดชีวิต ข้อดี คือ มีผลข้างเคียงต่ำและราคาถูก
ข้อเสีย คือ มีโอกาสดื้อยาสูงหากเป็นระยะเวลายาวนาน
-
- ยาฉีด เป็นยาในกลุ่ม Peg Interferon ออกฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย ให้เกิดมาทำลายไวรัส
ข้อดี คือ มีโอกาสที่สามารถหยุดยาได้ โดย 1 ใน 3 ของผู้ป่วยสามารถหยุดยาได้หลังจากใช้ยาไป 1 ปี และไม่มีการดื้อยา ข้อเสีย คือ มีผลข้างเคียงมากกว่า และราคาแพง
-
-
ภาวะอ้วนในหญิงตั้งครรภ์
BMI
ตามทฤษฎี
สตรีตั้งครรภ์มี ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ (prepregnancy BMI) มากกว่าหรือเท่ากับ 30 กิโลกรัม/ตารางเมตร
-
ในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์อายุ 27 ปี G2P1001 GA 26 สัปดาห์ by dateเริ่มฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 10 สัปดาห์
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 87 กิโลกรัม ส่วนสูง 169 เซนติเมตร
BMI 30.46 กิโลกรัม/ตารางเมตร
ดังนั้น หญิงตั้งครรภ์มีภาวะอ้วน(Obesity) อยู่ในระดับ 1
การคัดกรอง
-
ในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ได้รับคัดกรองระดับน้ำตาลเพื่อประเมินการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ตั้งแต่ฝากครรภ์ครั้งแรก โดยการตรวจด้วยวิธี 50 gm.GCT
ผลการคัดกรอง
เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ BS 50
gm = 113 mg/dL
มีค่าต่ำกว่า 140 mg/dL
ต้องตรวจซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
อายุครรภ์ 25 สัปดาห์ BS 50 gm = 89 mg/dL
ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์
-
การดูแล
ระยะตั้งครรภ์
- ประเมินดัชนีมวลกายก่อนมารดามาฝากครรภ์เพื่อประเมินความรุรแรง
-
- แนะนำให้มีกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยท่าที่เบาๆ เช่น การเดินวันละ15นาที ประมาณ3-4ครั้งต่อสัปดาห์
-
ระยะหลังคลอด
-
-
- แนะนำมารดาให้มีการลุกเดินจากเตียงโดยเร็ว (early ambulation)
4.แนะนำให้มารดาหลังคลอดลดน้ำหนักโดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้งเป็นประจำ เช่น เดินเร็ว การว่ายน้ำ
-
:check:งานวิจัย
ผลการติดตามการใช้ยาต้านไวรัสในการป้องกัน การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก
โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย
นักขัต เสาร์ทอง ภ.ม. (การจัดการเภสัชกรรม)*, ธวัชชัย อยู่คง ภ.บ. (บริบาลเภสัชกรรม)
Outcomes of Antiretroviral Drug Usage for Prevention of Mother to Child Transmission
at Maesai Hospital, Chiang Rai Province
:red_flag:สรุปวิจัยเกี่ยวกับกรณีศึกษา
จากงานวิจัยเป็นการติดตามผลการใช้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกหญิง
ตั้งครรภ์ในงานวิจัยได้รับยาต่อเนื่องสม่ำเสมอซึ่งส่งผลให้ทารกมีความเสี่ยงในการติดเชื้อจากมารดาลดน้อยลง
และปัญหาที่พบในงานวิจัยคือ อาการที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การรับยาครบตามแพทย์สั่ง การได้รับยาที่ ไม่เหมาะสม บทบาทพยาบาลที่สำคัญคือการประเมิน แก้ไข ป้องกันปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาที่กล่าวมา
ข้างต้น โดยการให้คำแนะนำและร่วมปรึกษากับแพทย์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์
Pregnancy Outcomes in HIV-Infected Women: Experience from a Tertiary Care Center in India
ผลของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV
:red_flag:สรุปวิจัยเกี่ยวกับกรณีศึกษา
การดูแลฝากครรภ์เร็วจะทำให้หญิงตั้งครรภ์ทราบว่าตนเองมี การติดเชื้อเอชไอวี ถ้าทราบเร็วก็จะสามารถรักษาและได้รับการ ดูแลรักษา ได้รับยาได้อย่างรวดเร็ว และจะลดอุบัติการณ์ในการเกิด Preterm born และ IUGR ได้
-
-
เชื้อเอชไอวี จะติดผ่าน เซลล์ trophoblast และ macrophages แล้วเข้าสู่ระบบไหลเวียนกระแสเลือดของทารกในครรภ์ โดยผ่านทางรก ระยะ 9 เดือนนี้จะมีโอกาสถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกร้อยละ 23
ระยะเจ็บครรภ์คลอด 24- 48 ชั่วโมง การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่เกิดในระยะคลอด จากการที่ทารกสัมผัสกับเลือดจำนวนมาก สัมผัสกับน้ำคร่ำ และสารคัดหลั่งในช่องคลอดของแม่ที่ติดเชื้อ ระยะนี้จะมีโอกาสถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกร้อยละ 65
การติดเชื้อหลังคลอด เกิดจากการที่ทารกสัมผัสสารคัดหลั่งของแม่ หรือจากการที่เชื้อเอชไอวีผ่านทางน้ำนมแม่สู่ลูกหากมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะนี้จะมีโอกาสถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกร้อยละ 12