Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 การพยาบาลแบบองคืรวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสขภาพ,…
บทที่9 การพยาบาลแบบองคืรวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสขภาพ
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ
กลุ่ม
กลุ่มมารดาที่มีโอกาสให้กำเนิดทารกที่มีการติดเชื้อ
มารดาที่ป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะมีไข้ร่วม
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดเป็นเวลามากกว่า 24 ชั่วโมง
มีสารคัดหลั่งออกจากช่องทางคลอดก่อนคลอด
การติดเชื้อระหว่างอยู่ในครรภ์
เกิดจากเชื้อที่ผ่านการติดต่อจากมารดาสู่ทารกหรือช่องคลอด โพรงมดลูก ซึ่งอาจทำให้เกิดการแท้ง ตายคลอด คลอดก่อนกำหนด หรือพิการแรกคลอก โดยเชื้อที่พบคือ
กลุ่มไวรัส cytomegalovieus , หัดเยอรมัน
กลุ่มเชื้อปาราสิต Toxoplasma gondi
กลุ่มเชื้อแบคทีเรีย Group B steptococcus, mycobacterium tuberculosis, treponema pallidum
การติดเชื้อระยะคลอด
ทารกจะได้รับเชื้อปนเปื้อนบริเวณช่องทางคลอดและเลือดของมารดาทำให้ติเชื้อได้ เชื้อที่พบบ่อย หนองใน เริม เอดส์ ตับอักเสบบี
การติดเชื้อในระยะหลังคลอด
เยื่อหุ้สมองอักเสบ ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ปอดอักเสบ
ทารกแรกเกิดที่ติดเชื้อtreponema pallidum
ทำให้เกิดซิฟิลิส หากติดเชื้อก่อน 16wksทารกจะมีกลไกสามารถป้องกันตัวเองได้ ถ้าหลัง 16wks กลไกการป้องกันตัวเองของทารกจะหายไป ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ congenital syphilis
ภาวะ congenital syphilis
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักน้อย
ศีรษะเหลี่ยม หน้าผากโหนก
จมูกแบน
ตาอักเสบ
ตับม้ามโต
ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย
ซีด
แนวทางการรักษา
สังเกตภาวะ congenital syphilis
ส่ง cord blood for VDRL
แยกออกจากทารกอื่น
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา Aqueous pennicillin G และ Benzathine penicillin G
หัดเยอรมันกับการตั้งครรภ์
เกดจากเชื้อ Rubella virus สามารถติอต่อจากมารดาสู่ทารกได้ทางรกได้ การติดเชื้อน T1 พบว่ามีโอกาสติดถึง 80% ส่งผลทำให้เกิด congenital rubella syndrome
congenital rubella syndrome
ความผิดปกติทางตา (ต้อกระจก ต้อหิน
บกพร่องการได้ยิน
สมองพิการปัญญาอ่อน
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
เกร็ดเลือดต่ำ ซีด ตับม้ามโต
รวมทั้งความผิดปกติโครโมโซม
แนวทางการรักษา
แม้ทารกจะไม่มีอาการใดๆควรแยกออกจากทารกปกติเผพื่อสังเกตความผิดปกติ ส่งตรวจเลือดเก็บทุกรายละเอียด
โรคสุกใส
พบจากการติดเชื้อ varicella virus
ติดภายใน 3 เดือนแรกทารกมีโอกาสพิการได้
GA 6-12 ทารกเกิดแขนขาลีบ
GA16-20 มีผลต่อพัฒนาการสมอง และตา
ถ้ามารดาเป็นสุกใสระยะคลอด5วันและหลังคลอด2วัน ทารกเสี่ยงเป็นสุกใสรุนแรง
แนวทางรักษา
ถ้ามารดาเป็รสุกใสระยะคลอด5วัน หลังคลอด2วัน ควรได้รับ varicella-zoster immunoglobulin ทันทีหลังคลอด
บางรายแนะนำควรให้ยา Acyclovir ร่วมกับ VZIG
โรคหนองในแท้ ติดเชื้อ neiserria gonorrhia
แนวทางรักษา
ดูแลให้ยา cefixin 1mg/kg IV 1ครั้งต่อวัน นานติดต่อกัน7วัน
เช็ดตาทารกด้วย NSS หรือล้างตาทุก1ชั่วโมงจนกว่าหนองจะแห้ง
โรคเริม จากเชื้อ Herpea simplex virus ทารกติดเชื้อจากมารดาหลังคลอด
อาการและอารการแสดง
ไข้ อ่อนเพลีย
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง ตับม้ามโต
มีตุ่มใสๆตามร่างกาย บนผิวหนัง
แนวทางรักษา
แยกทารกออกจากทารกอื่น สังเกตอาการผิกปกติ 7-14วัน
ให้ยา Acyclovir
โรคเอดส์ เกิดจากเชื้อ HIV
ติดต่อทารกจากมารดาสู่ทารก
ทางรก ทางสัมผัสสารคัดหลั่ง การเลี้ยงบุตรด้วยน้ำนม
แนวทางการรักษา
ทารกที่มารดาติดเชื้อให้ NVP ชนิดน้ำ 6mg ภายใน8-12ชั่วโมง ร่วมกับ AZT 2mg/kg
หลังจากให้ยา AZT ทุก2ชั่วโมงตรวจการติดเชื้อเพื่อหา viral load ถ้าพบเชื้อ HIV-RNA ใน 48ชั่วโมงหลังคลอด แสดงว่าทารกติดตั้งแต่ในครรภ์ ถ้าตรวจพบใน6สัปดาห์ แสดงว่าติดระยะคลอด
เมื่อทารกครบ 12เดือน ตรวจ IgM,IgG และ18เดือน
โรคตับอักเสบบี
เกิดจาก hepatitis B virus ถ่ายทอดทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สารคัดหลั่ง น้ำนม ทางรก กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAG pos จะสู่ทารกร้อยละ90 ถ้า neg สู่ทารกร้อยละ 10-20
แนวทางรักษา
เมื่อคลอดรีบดูดเมือกออกจากปากและจมูกให้ได้มากที่สุด ทำความสะอาดทารกทันที
ให้ทารกดูดนมมารดาหลังคลอดได้ทันที
ทารกเกิดได้รับ HBIG IM เร็วที่สุด ร่วมกับ HBV เข็มที่1 ภายใน12ชั่วโมงหลังคลอด แล้วนัดมารับเข็มที่2 ห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และให่วัคซีน DTP-HB ตอนอายุ 2,4,6เดือน
นางสาวศศิธร แก่นจันทร์ รหัส 602701089 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม