Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น36/1…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกตามน้ำหนัก
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
Low birth weight infant (LBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
กลุ่มนี้อาจแบ่งย่อยเป็น
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant) คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant) คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
สาเหตุ/ปัจจัยส่งเสริม
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
เศรษฐานะไม่ดี
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
มีเลือดออกไตรมาสที่ 2 หรือ 3
แท้งคุกคามในไตรมาสแรก
รกลอกตัวก่อนก้าหนด
ความดันโลหิตสูง
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก ศีรษะจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
เสียงร้องเบา
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
2.ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
6.ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
3.ปัญหาการติดเชื้อ
4.ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
5.ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
1.ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit K1 เข้ากล้ามเนือตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ควรจะฉีดเข้าทางหลอดเลือดด้า
ดูแลให้ทารกได้รับธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
ดูแลการได้รับ Vit. E และ FeSO4 ทางปากตามแผนการรักษา
สังเกตและรายงานอาการที่แสดงว่ามีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ
ขณะดูดเสมหะหรือขณะใส่สายยางเข้าไปในทางเดินอาหาร
ติดตามและรายงานผล CBC
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ให้เพียงพอตามแผนการรักษา
จดบันทึก Intake และ output อย่างละเอียดและถูกต้อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการมีภาวะไม่สมดุลย์ของน้ำกรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
ติดตามผล blood gas BUN electrolyte urine specific gravity
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำและนมทางปาก และ/หรือสารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผล dextrostix หรือ blood sugar
การป้องกันการเกิดการแตกท้าลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์กับทารกเกินความจ้าเป็น
ระมัดระวังการใช้สารละลาย สารเคมี กับผิวหนังทารก เช่น น้ำยาฆ่าเชื้อทางผิวหนัง
การแกะพลาสเตอร์ หรือ เทปออกจากผิวหนัง
ระมัดระวังการรั่วของสารน้ำออกจากหลอดเลือดในรายที่ได้รับสารน้ำ
การติด probe หรือ electrode ต่างๆ
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำ ยาฆ่าเชื้อโรคก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
เครื่องมือและสิ่งของที่ใช้กับทารกต้องสะอาดหรือผ่านการทำลายเชื้อโรค
ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
อุปกรณ์ที่ใช้กับทารกต้องใช้เฉพาะคน
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity (ROP)
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จ้าเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ควรใช้ pulse oximeter ติดตามO2 saturation ตลอดเวลา
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี ให้ได้รับการรักษาโดย ใช้แสงเลเซอร์
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลให้อาหารทางปาก
1-2วันให้งดน้ำและนมตามแผนการรักษา โดยแพทย์จะให้สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินความสามารถในการรับนมของทารก
การให้นมแก่ทารก พยาบาลควรส่งเสริมให้ทารกได้รับนมจากมารดาเยอะที่สุด
ดูแลการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ขณะมีการกลั้นหายใจ ควรกระตุ้นโดยการเขี่ยหรือเขย่าที่ใบหน้าหรือลำตัว
ประเมินการหายใจ อัตรา การใช้แรง retraction สีผิว ปีกจมูก การหายใจ
ดูแลให้ได้รับยา Theophylline
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก ป้องกันการเกิด cold stress
ให้ทารกได้พัก หลีกเลี่ยงการจับต้องทารก
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด (Developmental care)
การจับต้องทารก : จับต้องทารกเท่าที่จ้าเป็น, ให้การพยาบาลด้วยสัมผัสที่นุ่มนวล
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
1.หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา (extension) พยายามให้ทารกอยู่ในท่าแขน ขางอเข้าหากลางล้าตัว
ก่อน ขณะ และหลังให้การพยาบาลควรประเมิน สัญญาณ (cues) ของทารกว่าทารกว่าทารกอยู่ในภาวะเครียด สงบและผ่อนคลาย หรืออยากมีปฏิสัมพันธ์
ถ้าทารกแสดงสื่อสัญญาณว่าอยากมีปฏิสัมพันธ์ พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล (soft voice) มองสบตา (eye contact)
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ(36.8 - 37.2 ้c.)
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ทำให้ทารกมีการใช้ออกซิเจนและสารอาหารน้อยที่สุด
ป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายทั้งโดยการนำ,พา,แผ่,ระเหย
ประเมินอุณหภูมิร่างกายตามอาการของทารก
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก(bonding,attachment)
ส่งเสริม, กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด
เมื่อบิดามารดาเข้าเยี่ยมทารก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
สาเหตุ
1.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะต่างๆ เช่น ภาวะลำไส้อุดตัน
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
อันตรายจากการมีบิลิรูบินสูง
ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมอง
ทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท
ทำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
การวินิจฉัย
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
มารดามีโรคประจำตัวการได้รับยาการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหหรือไม่ มีจุดเลือดออก บริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบิน direct bilirubin indirect bilirubin
หมู่เลือด ABO Rh
Direct Coombs’test เพื่อดู blood group incompatibility
CBC เพื่อดูการติดเชืื้อ
peripheral blood smear เพื่อดูลักษณะของเม็ดเลือดแดง
Reticulocyte count เพื่อสนับสนุนว่ามีการแตกของเม็ดเลือดแดง
G-6-PD เพื่อดูภาวะพร่องเอนไซด์
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาด้วยการส่องไฟ
Increases metabolic rate พบว่าทารกอาจมีน้ำหนักตัวลดลง
Increased water loss / dehydration ทารกมีภาวะเสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ
non-specific erythrematous rash อาจมีผื่นขึ้นตามตัวเป็นการชั่วคราว
Increased water loss / dehydration ทารกมีภาวะเสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ
Thermodynamic unstable ทารกอาจมีอุณหภูมิร่างกายสูงหรือต่ำกว่าปกติ ประเมินสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอทุก 4 ชั่วโมง
Retinal damage ถ้าไม่ได้ปิดตาทารกให้มิดชิด อาจมีการบาดเจ็บเนื่องจากถูกแสงส่องนานทำให้ตาบอดได้
Bronze baby หรือ tanning ทารกอาจจะมีสีผิวคล้ำขึ้นจากการที่ต้องถูกแสงอัลตราไวโอเลตเป็นเวลานาน
Disturb of mother-infant interaction เนื่องจากต้องให้ทารกรักษาด้วยการส่องไฟอาจทำให้มารดามีโอกาสได้อุ้มและสัมผัสน้อยลง
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches)
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่ำและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4ชม.เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
การพยาบาลExchange transfusion
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
น้ำตาลในเลือดต่ำหมายถึงระดับ น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
อาการแสดง : ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียกอุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นม
ถ้าน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
มื้อแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
ถ้าน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
35-45 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
การดูแล
จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด
ติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติ
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous
การแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 ถึง 15 วินาทีหลังเกิด โดยทารกต้องมีอาการดังต่อไปนี้
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
ความรุนแรงแบ่งได้เป็น3 ระดับ
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น ความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ นทั งระยะสั นและระยะยาว
นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น36/1 เลขที่37
รหัสนักศึกษา 612001038