Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
-
-
ชีพจร
การประเมินชีพจร
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
-
ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งที่ต้องสังเกต คือ อัตรา (จำนวน/ต่อนาที) จังหวะ การเต้นมีความสม่ำเสมอ และปริมาตรความแรง (เบาหรือแรง)
-
-
-
-
-
-
-
การหายใจ
การประเมินการหายใจ
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากำลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจ ในผู้ใหญ่ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก ในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
-
-
-
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
-
-
จังหวะของการหายใจ
-
Biot เป็นการหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก ไม่สม่ำเสมอเป็นช่วงสั้นๆ 2-3 ครั้ง แล้วตามด้วยหยุดหายใจช่วงสั้น ๆ อีก
-
-
-
-
ความดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิต
-
ทางอ้อม
-
-
ขั้นตอนในการปฏิบัติ
-
-
-
-
-
-
-
-
9.บีบลูกยางด้วยอุ้งมือให้ลมเข้าไปในผ้าพันแขน ดันให้ปรอทในเครื่องวัดสูงกว่าค่าปกติของ Systolic pressure ประมาณ 20 มิลลิเมตรปรอท (140+20=160)
10.ค่อย ๆ คลายเกลียวลูกยางปล่อยลมออกจากผ้าพันแขนและให้ตั้งใจฟังเสียงเต้นของผนังเส้นเลือดเสียงตุบแรกที่ได้ยินระดับปรอทอยู่ที่ตำแหน่งใด ก็คือค่า Systolic pressure
11.ค่อย ๆ ปล่อยลมออกจากลูกยางช้า ๆ สังเกตเสียงที่ดังเป็นระยะ ๆ เรียกว่า Korotkoff’s sound จนถึงระยะหนึ่ง เสียงจะเริ่มเป็นเสียงฟู่ ๆ หรือหยุดหายไปเลย คือค่า Diastolic pressure
-
-
-
-
ข้อควรระวัง
-
-
-
-
-
-
การเก็บเครื่องวัดความดันโลหิต ต้องบีบลมออกจากผ้าพันให้หมด พันให้เรียบร้อยเก็บเข้าที่ โดยระวังไม่ให้สายยางหักพับงอ
-
-
-