Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวศิริพร ปิยธโร เลขที่ 33 รุ่น…
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant)
คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37-41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant)
คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant)
คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
การจ้าแนกตามน้ำหนัก
Low birth weight infant (LBW infant)
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำากว่า 1,000 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant)
ทารกที่มีน าหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ
3,800 – 4,000 กรัม
ปัญหาควบคุมอุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
อาการ
เขียวคล้ำ
หยุดหายใจ
หายใจลำบาก
ปลายมือปลายเท้าเขียว
ผิวหนังเย็น
ใบหน้าแดง
การวินิจฉัย
อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5 องศา(วัดทางทวารหนัก)
ภาวะแทรกซ้อน
ความต้องการออกซิเจนมากขึ้น
น้ำหนักไม่ขึ้น
ภาวะเลือดเป็นกรด
ท้องอืด
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ไตวาย
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator
กรณีไม่ได้ใช้ตู้อบผนัง2 ชั้น สวมหมวกไหม พรม หรือหมวกที่หนา 2 ชั้น พันร่างกายด้วย plastic wrap
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้36.8-37.2องศาเป็นเวลา2ครั งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตามNeutral
thermal environment (NTE)
แล้วติดตามอุณหภูมิกายต่อทุก 15 -30 นาทีอีก 2 ครั้ง ต่อไป 4 ชม.
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ Skin Servocontrol mode
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง โดยหลีกเลี่ยงบริเวณตับและ bony prominence
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือ ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ (Air Servocontrol mode)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาทุก 15 – 30 นาที (max 38องศา)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36 องศา
ปัญหาระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
การป้องกัน
ควรได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด
Betamethazone 12 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชม.จนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 12 ชม.จนครบ 4 ครั้ง
อาการและอาการแสดง
มีอาการหายใจล าบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/ นาที
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่ามีภาวะเลือดเป็นกรด
อาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
อาการเขียว (Cyanosis)
ความหมาย
ความหมายคือภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
การให้โดยใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือCPAP
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ภาวะปอดอุดกันเรื้อรัง(BPD)
ภาวะจอประสาทตาพิการจากการเกิดก่อนกำหนด(ROP)
Apnea Of Prematurity (AOP)
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
สาเหตุ
Meyabolic disorder
Impaired oxygenation
Drug
prematurity
Infection
การดูแล
ระวัง การสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว
จัดท่านอนศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
Suction เมื่อจำเป็น
Retinopathy ofPrematurity(ROP)
ระยะเวลาการตรวจหา
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 – 6 สัปดาห์ หรือเมื่อทารกอายุครรภ์รวมอายุหลังเกิด 32 week
ถ้าพบว่ามีการด้าเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำทุกๆ 1 – 2 สัปดาห์
Bronchopulmonary Dysplasia (BPD)
ปัญหาการติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
การได้รับอาหารไม่เหมาะสมเร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
ภาวะพร่องออกซิเจน
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลหลักปราศจากเชื้อ
แยกจากเด็กติดเชื้อ/แยกผู้ดูแล
เฝ้าระวังภาวะลำไส้ทะลุ
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
NPO
ปัญหาระบบหัวใจ/เลือด
Patent Ductus Ateriosus(PDA)
รักษา โดยใช้ยา Indomethacin
ขนาดที่ใช้
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
มีภาวะ NEC
รักษา โดยใช้ยา Ibuprofen
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine 1.6มิลลิกรัม/
เดซิลิตรและ BUNมากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
Neonatal Jaundice
หรือ Hyperbilirubinemia
Anemia
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
GER(Gastroesophageal Reflux)
NEC(Necrotizing Enterocolitis)
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavage feeding (OG tube)
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30กรัม)
ระวังภาวะNEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบิน
มากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมาก
ผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด
สาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้เพิ่มขึ้น
ตับกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติG6PD
การวินิจฉัย
ประวิติบุคคลในครอบครัว
ซีด เหลือง ตับ ม้ามโต
หมู่เลือด ABO Rh
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
การดูแล
จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำและนมทางปาก และ/หรือสารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษา
แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
หายใจลำบาก
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
ติดตามผล dextrostix หรือ blood sugar และประเมินอาการทางคลินิกของการมีภาวะน้ำาตาลในเลือดต่ำ
มือเท้าสั่น
ซึม กลั้นหายใจ
เขียว ชักเกร็ง
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
การพยาบาล
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
ดูแลตามอาการ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว
จมูกบาน ใช้กล้ามเนื อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
การพยาบาล
ขณะดูดเสมหะหรือขณะใส่สายยางเข้าไปในทางเดินอาหาร ควรจะใส่อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล
ดูแลการได้รับ Vit. E และ FeSO4 ทางปากตามแผนการรักษา
สังเกตและรายงานอาการที่แสดงว่ามีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ
gastric content มีเลือดปน
อุจจาระมีเลือดปน
ดูแลให้ทารกได้รับธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit K1 เข้ากล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
นางสาวศิริพร ปิยธโร เลขที่ 33 รุ่น 36 /2 รหัส 612001113