Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
ศาสนาพุทธ
พุทธศาสนากับการพยาบาล
พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลด้านร่างกาย
เมื่อพระองค์ประชวรแบบนี้ครั้งก่อนเคยเสวยยาคูปรุงด้วยของ 3 อย่างคือ งาข้าวสาร และถั่วเขียว ซึ่งได้ปรุงยาคูปรุงสูตรนั้นถวายพระพุทธเจ้าทรงเสวยไม่นานก็หายจากอาการประชวรและทรงพระสำราญพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เชตวนารามเมืองสาวัตถีประชวรด้วยโรคลมพระอุปวาณะเป็นอุปัฏฐากได้จัดการต้มน้ำร้อนให้พระองค์ทรงสนานและละลายน้ำอ้อยด้วยน้ำร้อนพระองค์เสวยก็ทรงหายจากอาการประชวร
การดูแลด้านจิตใจ
เมื่อท่านพระมหาจุนทะแสดงจบลงพระพุทธเจ้าตรัสว่าพระองค์ทรงหายจากอาการประชวรด้วยการฟังท่านพระมหาจุนทะสาธยายโพชณงค์นั้น
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
ในพรรษาสุดท้ายของพระผู้มีพระภาคเจ้าจำพรรษาที่วัดเวฬุคามเมืองเวสาลีในคราวนั้นพระพุทธองค์ทรงประชวรหนักเกิดเวทนาอย่างร้ายแรงถึงใกล้จะปรินิพพานพระองค์ทรงมีสติสัมปชัญญะไม่พรั่นพรึง
การดูแลด้านสังคม
ใช้สมุนไพรที่หาได้ท้องถิ่นเพื่อการดูแลสุขภาพอีกครั้งพระสารีบุตรอาพาธด้วยโรคลมเสียดท้องพระโมคคัลลานะถามท่านว่าเมื่อก่อนท่านอาพาธตัวร้อนเคยรักษาให้หายด้วยเภสัชอะไรภาษารีบุตรตอบว่าท่านหายด้วยกระเทียมพระโมคคัลลานะจึงได้จัดถวายพระสารีบุตรทันทีเมื่อพระสารีบุตรฉันกระเทียมแล้วอาการลมเสียดท้องก็หาย
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 งดเว้นการประพฤติผิดในกามสาเหตุการเกิดโรคทางเพศสัมพันธ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลกคือการติดเชื้อ hiv และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
ชินข้อ 2 งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตนส่งผลให้เกิดความเครียดความอิจฉาริษยาความเครียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทางด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 4 งดเว้นจากการกล่าวเท็จการโกหกพูดไม่จริงเป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริงดังตัวอย่างตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนทำให้ภรรยานั้นไม่ได้ป้องกันโอกาสที่ทำให้เกิดความติดเชื้อสูงมาก
ศีลข้อ 5 งดเว้นจากการดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทพี่คนนี้เมื่อดื่มสุราเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์แล้วนอกจากมีผลทำลายสุขภาพของตนแล้วยังก่อให้เกิดมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดีมะเร็งปอดเป็นต้น
ศีลข้อที่ 1 งดเว้นจากการทำลายชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไปกินผักกินไม้หยุดทำร้ายชีวิตสัตว์
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
1.กรรมอารมณ์ ถ้าอารมณ์ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปได้ถ้าอารมณ์ไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
2.กรรมนิมิต จะมาปรากฏให้เห็นเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้านี้มีที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปดีถ้านิมิตไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
3.คตินิมิต หมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิดจะปรากฏให้เห็นเวลาเมื่อใกล้ตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิจะเห็นนรกเปรตอสุรกายถ้าจะเกิดในที่ที่ดีจะเห็นมารดา
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
1 ความตายเป็นทั้งความแน่นอนคือความไม่แน่นอนพร้อมกัน
2 ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
3 ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
4 ความตายเป็นทางวิกฤตและโอกาส
5 ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
6 การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยและการตายที่ดีทางพุทธศาสนาไม่ใช่ตาอย่างไรสภาพแบบไหนได้อยู่ที่จิตสภาพก่อนตายว่าเป็นอย่างไรให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
จิตวิญญาณเป็นโครงสร้างส่วนหนึ่งของมนุษย์ที่นอกเหนือจากร่างกายและจิตใจจิตวิญญาณเป็นกี่ชั้นสูงที่ลดความเห็นแก่ตัวแก่ผู้อื่นติดที่เข้าถึงสิ่งสูงสุดคือนิพพานจิตวิญญาณที่นำมาใช้ในวิชาชีพการพยาบาลคือพลังชีวิตของคนซึ่งแสวงหาจุดมุ่งหมายของสัมพันธภาพและการมีชีวิตรอดจิตวิญญาณที่แสวงหาจุดมุ่งหมายของความรักความไว้วางใจความหวังและการให้อภัยแก่ตนเองและผู้อื่น
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
1 การให้ความรักความเข้าใจ
2 ช่วยให้เขายอมรับความตาย
3 ช่วยเขาจดจ่อในสิ่งดีงาม
4.ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
5.ช่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
6 สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้จิตใจสงบ
7 กล่าวคำอำลา
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
ด้านร่างกาย
คนใกล้ตายความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ต้องการให้การรักษาใดๆพักผ่อนให้เต็มที่หากพบว่าผู้ป่วยปากแห้งให้นำสำลีชุบน้ำสะอาดแตะริมฝีปากนิทานด้วยวาสลีนจมูกแห้งให้มันทำความสะอาดรักษาความชุ่มชื้นดวงตาแห้งหยอดด้วยน้ำตาเทียมหากมีเสมหะให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเพราะนอกจากจะไม่ได้ผลจะทำให้ผู้ป่วยทรมาน
ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
จิตใจที่แจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์เมื่อคนป่วยหนักใกล้ตายยิ่งต้องประคับประคองอย่างมากคนที่ใกล้ตายกลัวการถูกทอดทิ้งอยู่อย่างโดดเดี่ยวต้องอยู่เป็นเพื่อนเขา
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1 ต้องดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทุกๆด้าน
2 ต้องเริ่มตั้งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
3 สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตัวเองเป็นอะไรทำอะไรได้แค่ไหน
4 การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
5 การทำงานเป็นทีม
6.การดำเนินของโลกทำให้เกิดเหตุการณ์เตรียมรับมืออย่างไรวางแผนการจัดการอย่างไร
7 การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1 ลดความทุกข์ทรมาน
2 ทำกิจวัตรประจำวันเท่าที่ทำได้
3 เป็นตัวของตัวเอง
4 อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงชีวิตสุดท้าย
วิธีปฏิบัติถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไปยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดกลัวท้อแท้
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไปเป็นผู้ได้รับการศึกษาระลึกถึงความตายเป็นอนุสติเตือนใจไม่ให้ประมาทเร่งขวนขวายปฏิบัติทำความดี
ขั้นที่ 3 คือรู้เท่าทันความตายมีใจปลอดโปร่งโล่งสบายและอยู่ด้วยปัญญาที่กระทำตามเหตุผลไม่กลัวความตาย
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ สอนให้รู้จักทุกข์ วิธ๊การดับทุกข์ ให้พ้นจาด อวิชชา อันเป็นเหตุให้เกิดกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง ตลอดจนปราถนาในพระนิพพานของผู้มีปํญญา
หลักคำสอนในศาสนาพุทธ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
โอวาทปาติโมกข์ การไม่ทำชัวทั้งปวง ทำแต่ความดี ทำจิตใจให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล5
ศีลข้อที่ 1 ปาณาติปาตาเวรมณีเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อที่ 2 อทินนาทานาเวรมณีเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้
ศีลข้อที่ 3 กาเมสุมิจฉาจาราเวรมณีเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทาเวรมณีงดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อที่ 5 สุราเมระยะมัชชะประมาทัฏฐานาเวรมณีงดเว้นจากการดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศาสนาพุทธกล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฎไตรลักษณ์
1.อนิจจังคือความไม่เที่ยงไม่คงตัวเสื่อมสลาย
2.ทุกขังคือความทุกข์ถูกบีบคั้นไม่สมอยากตั้งอยู่ไม่ได้
3.อนัตตาคือความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
เหตุผลของการเกิดทุกข์และการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
นิพพาน
-ความดับสนิทของตัณหาปล่อยวาง
-ธรรมที่เป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงสิ้นตัณหา
-อสังขตธรรมเป็นการสิ้นไปแห่งราคะโทสะโมหะ
-ความคลายกำหนัดกำจัดความเมาความ
กระหายก่อนเสียชื่อความอาลัย