Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวญาตาวี มนตรี รุ่น36/1 เลขที่31…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจำแนกประเภท
ตามน้ำหนัก
Low birth weight infant
น้ำหนักต่ำกว่า 2500g.
Very LBW
ต่ำกว่า1500g.
Extremely
ต่ำกว่า 1000g.
Normal birth weight infant
น้ำหนัก 2500g.ถึง3800-4000g
ตามอายุครรภ์
ทารกเกิดก่อนกำหนด(Preterm infant)
อายุครรภ์น้อยกว่า36wks
ทารกคลอดครบกำหนด(term infant)
อายุครรภ์37-41wks
ทารกคลอดหลังกำหนด(Posterm infant)
อายุครรภ์มากกว่า41wks
ทารกเกิดก่อนกำหนด
สาเหตุ ปัจจัย
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ติดเชื้อ ไต
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
ฐานะไม่ดี
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
เช่น ความดันโลหิตสูง รกคลอดตัวก่อนกำหนด
อายุน้อยกว่า16ปี หรือมากกว่า35ปี
ลักษณะทารก
น้ำหนักน้อย ศีรษะใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดตัว กะโหลกนุ่ม ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังชัดเจน บวมตามมือและเท้า
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ
กล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี เคลื่อนไหวน้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ เขียว
หัวนมมีขนาดเล็ก มองไม่เห็นหัวนม ท้องป่อง เสียงร้องเบา อวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
ปัญหาที่พบบ่อย
การควบคุมอุณหภูมิ(Hyper/Hypothermia)
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
อาการและอาการแสดง
ใบหน้าแดง ผิวเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ ปลายมือ-เท้าเย็น
การวินิจฉัย
อุณหภูมิแกนกลางทารก <36.5องศา
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำตาลในเลือกต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด น้ำหนักไม่ขึ้น ท้องอืด เลือดออกในโพรงสมอง
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
เกิดก่อนกำหนด
วัดนาน3นาที ลึก2.5ซม.
ครบกำหนด
วัดนาน3นาที ลึก3.0ซม.
ทางรักแร้
ก่อนกำหนด
วัดนาน5นาที
ครบกำหนด
วัดนาน8นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ที่อุณภูมิเหมาะสม(NTE) 32-34องศา
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนทั้ง4ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก4ชม. และปรับให้เหมาะสม
ไม่เปิดตู้อบถ้าไม่จำเป็น
ทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator
เป้าหมาย อุณหภูมิทารกปกติ คือ37องศา(+/- 0.2องศา)
กรณีตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ หรือปรับอัตโนมัติ(air servocontrol mode)
ปรับอุณหภูมิเพิ่มครั้งละ 0.2องศา ทุก15-30นาที (มากสุด38องศา)
ลดการสูญเสียความร้อน เช่น ครอบพลาสติกที่ตัวทารก(กรณีไม่ได้ใช้ตู้อบผนัง2ชั้น สวมหมวกไหมพรม พันร่างกายด้วย plastic wrap)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36องศา
ถ้าวัดอุณหภูมิได้36.8-37.2องศา เป็นเวลา2ครั้งติดต่อกัน ให้ปรับอุณหภูมิตาม Neutral thermal environment(NTE) แล้วติดตามทุก15-30นาที2ครั้ง และต่อไปทุก4ชม.
ควรใส่ปรอทในตู้อบ
กรณีตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ(Skin servocontrol mode)
ติดskin probe ที่หน้าท้อง เลี่ยงบริเวณตับและbony prominence
ปรับอุณหภูมิเริ่มที่36.5องศา
ปรับเพิ่มครั้งละ 0.1 องศา ทุก15-30นาที (มากสุด38องศา)
ลดการสูญเสียความร้อน เช่น ครอบพลาสติกที่ตัวทารก
ถ้าวัดอุณหภูมิได้36.8-37.2องศา เป็นเวลา2ครั้งติดต่อกัน ให้ปรับอุณหภูมิตาม Neutral thermal environment(NTE) แล้วติดตามทุก15-30นาที2ครั้ง และต่อไปทุก4ชม.
วัดอุณหภูมิ body temp 36.8-37.2องศา
ใช้ warmer incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง
cold stress
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ(RDS)
Perinatal asphyxia
ใช้ APGAR Score
Mild asphyxia
5-7
Moderate asphyxia
3-4
No asphyxia
8-10
Severe asphyxia
0-2
Respiratory distress syndrome(RDS)
ภาวะหายใจลำบากจากการขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
อาการ อาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอด
ground glass appearance
เขียว
หายใจลำบาก ปีกจมูกบาน หายใจมีเสียงGrunting
ตรวจพบภาวะเลือดเป็นกรด
การป้องกัน
มารดาเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ควรได้ antenatal corticostroids อย่างน้อย24hrs. ก่อนคลอด เพื่อกระตุ้นการสร้างสารลดแรงตึงผิวและปอดสมบูรณ์ขึ้น
ป้องกันไม่ให้ทารกขาดO2ในระยะแรกเกิด
เลือดเป็นกรด
ขัดขวางการสร้างสารลดแรงตึงผิว
การรักษา
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อให้ความยืดหยุ่นปอดดีขึ้น
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับO2 เช่น BPD ROP โดยปรับความเข้มข้นและอัตราไหลของO2ให้ลดลง
รักษาแบบประคับประคอง
รักษาสมดุลน้ำ อิเล็กโตรไลค์ กรด ด่าง
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อ
ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
ให้O2ตามความต้องการของทารก
Apnea of prematurity(AOP)
หยุดหายใจนานกว่า20วินาที มีcyanosis
แบ่งได้เป็น
Obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกและกะบังลม ไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก จากการงอหรือเหยียดลำคอเกิน
Central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม ไม่มีอากาศผ่านรูจมูกจากศูนย์การหายใจที่ก้านสมองทำงานไม่ดี
สาเหตุ
prematurity
CNS problems
infection
Gastroesophageal reflux
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
Suction เมื่อจำเป็น
ระวังสำลัก
สังเกตอาการขาดO2
ให้การพยาบาลขณะใส่เครื่องช่วยหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม หัวสูง เงยคอเล็กน้อย
Bronchopulmonary Dysplasia(BPD)
ถุงลมไม่ยืดหยุ่น จากการได้รับO2เป็นเวลานาน
Retinopathy of prematurity(ROP)
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงและที่ขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะเวลาการตรวจ
ตรวจครั้งแรกเมื่ออายุ4-6wks หรืออายุรวมหลังเกิด32wks
ถ้าไม่พบการดำเนินโรค ตรวจซ้ำทุก4wks
หลังทารกกลับบ้าน ไม่มีการดำเนินของโรค นัดตรวจซ้ำ
ถ้ามีพบการดำเนินโรค ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์หรือตามแพทย์นัด
ถ้าพบ ROP นัดตรวจซ้ำทุก1-2wks
การวินิจฉัย
zone1
zone2
zone3
ความรุนแรง
มี5ระยะ
ปัญหาติดเชื้อ
NEC(Necrotizing Enterocolitis)
เป็นผลจาการพร่องO2
ได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ/ผู้ดูแล ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ให้การพยาบาลยึดหลัก aseptic technique
ระวังภาวะติดเชื้อ และลำไส้ทะลุ
Sepsis
ปัญหาหัวใจและหลอดเลือด
Neonatal Jaundice
Anemia
PDA
การรักษาPDA
โดยยาIndomethacin
มีภาวะ NEC
ทำให้ bleeding ได้
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก. ทุก8hrs x3ครั้ง
โดยยาIbuprofen
ยับยั้งการสร้าง prostaglandin ที่ทำให้ PDA ปิด
ให้ทุก12-24hrs x3-4ครั้ง
ผลดีในทารกน้ำหนัก500-1500g อายุครรภ์ไม่น้อยกว่า32wks อายุไม่เกิน10วัน
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย
ปัญหาระบบประสาท
Intraventricular hemorrhage(IVH)
Hydrocephalus
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
Eye to eye contact
Skin to skin contact
ปัญหาโภชนาการ
NEC
GER
Hypoglycemia
การพยาบาล
IVF ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC สังเกต ท้องอืด
gavage feeding(OG tube) ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูกลืนไม่ดี
ประเมินการเจริญเติบโต
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับทารก
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
ควบคุมอุณหภูมิให้ปกติ(36.8-37.2)
สูญเสียความร้อนออกจากร่างกายได้ง่าย อุณหภูมิร่างกายต่ำมากๆ cold stress ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น Hypoxia Acidosis
จัดให้ทารกอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่อุณหภูมิเหมาะสม
ป้องกันการสูญเสียความร้อนจากร่างกาย ประเมินอุณหภูมิและสังเกตอาการทางคลินิก
ดูแลการหายใจให้ได้รับO2อย่างเพียงพอ
ประเมินการหายใจ ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยดูดเสมหะ จัดท่า
ขณะมีการกลั้นหายใจ กระตุ้นโดยเขี่ยหรือเขย่า
ดูแลให้ได้รับยา Theophylline เพื่อลดการเกิดApnea
ให้ความอบอุ่น ป้องกัน cold stress และดูแลให้ทารกได้พัก
ให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
1-2วันแรกหลังเกิดให้งดน้ำและนม จะให้สารน้ำและอาหารทางIV
ดูแลให้อาหารทางปาก เริ่มให้เมื่อการหายใจคงที่ ได้ยินเสียงการmoveลำไส้ ไม่ท้องอืด
ส่งเสริมให้ได้รับ
นมมารดามากที่สุดเพราะสามารถป้องกันNEC
ได้ ถ้าไม่สามารถให้นมมารดาได้ ให้นมชนิด
premature formular
ชั่งน้ำหนักทุกวัน สัปดาห์แรกหลังคลอดทารกจะ
physiological weight loss
ประมาณ10-20%ของน้ำหนักแรกเกิด
ป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือสะอาดก่อนให้การพยาบาล เครื่องที่ใช้ผ่านการทำลายเชื้อ ดูแลความสะอาดทั่วไปและสิ่งแวดล้อม
ป้องกันน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ได้รับน้ำ/นมทางปาก หรือสารน้ำ-อาหารทางIV แก้ไขป้องกันสาเหตุน้ำตาลต่ำ ติดตามผล Dtx.
ป้องกันเลือดออกและโลหิตจาง
ดูแลให้ได้ฉีด vit K1 เข้ากล้ามเนื้อ เลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ดูแลให้ได้รับvit E และFeSO4ทางปาก ติดตามผลCBC ดูแลให้ได้รับธาตุเหล็ก
รักษาสมดุลน้ำ กรด-ด่าง อิเล็คโทรลัยต์
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเล็กโทรไลค์ บันทึกintake output ติดตามผลblood gas BUN สังเกตอาการไม่สมดุล
ป้องกันการแตกทำลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์เกินความจำเป็นและติดแน่นเกินไป แกะพลาสเตอร์อย่างระวัง ระวังการรั่วของสารน้ำจากหลอดเลือด ระวังการใช้สารละลายกับผิวทารก
ป้องกันการเกิดROP
ดูแลให้ได้O2เท่าที่จำเป็น ในรายที่ได้O2ควรใช้pulse oximeter ดูแลให้ได้vitEตามแผน
ดูแลให้ได้รับวิตามินและเกลือแร่
จากทารกมีการะสะสมฟอสฟอรัส vitE แคลเซียมน้อย
ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กแรกเกิด
จัดท่า
ห่อทารกให้แขนงอมือสองข้างใกล้ๆปาก(
hand to mouth
) เลี่ยงห่อแบบเก็บแขน(mummy restraint)
ใช้ผ้าอ้อมม้วนๆวางรอบๆทารกเสมือนรังนก
เลี่ยงการเหยียดแขนขา พยายามให้อยู่ท่าแขนขางอเข้ากลางลำตัว
จับต้องทารก
จับเท่าที่จำเป็น สัมผัสนุ่มนวล
สภาพแวดล้อม
มีการกระตุ้นแสงเสียงน้อยสุด
ก่อน ขณะ หลังให้การพยาบาลควรประเมินทารก
เครียด
ให้จุกนมหลอก
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก
กระตุ้นให้มารดาเยี่ยมทารกเร็วที่สุด เปิดโอกาสให้มารดาซักถาม ส่งเสริมให้เลี้ยงด้วยนมมารดา
ทารกคลอดครบกำหนด
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด(Hyperbilirubinemia)
ชนิด
ตัวเหลืองจากสรีรภาวะ(Physiological jaundice)
สร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่จากเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า
พบช่วงวันที่2-4หลังคลอด หายเองใน1-2wks
ตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ(Pathological jaundice)
มีบิลิรูบินในเลือดสูงมาก ภายใน24hrsหลังเกิด จากดูดนมได้น้อย ลำไส้อุดตัน
เกิดจาก bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกตื ถ้าสูงมากทำให้เกิดภาวะ
Kernicterrus(พิการของสมองถาวร)
สาเหตุ
ดูดซึมบิลิรูบินในลำไส้มากขึ้น
กำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีตัน
สร้างบิลิรูบินมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
สร้างบิลิรูบินมากขึ้น กำจัดได้น้อยลงจากติดเชื้อ
ดูดซึมบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น ที่เกี่ยวกับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Breastfeeding jaundice
รับน้ำนมช้า ไม่พอ กำจัดขี้เทาช้า
Breastmilk jaundice syndrome
พบในทารกอายุ4-7วัน
การวินิจฉัย
ประวัติ
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ(phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Increases metabolic rate
น้ำหนักตัวลด
dehydration
แสงทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น
diarrhea
แสงทำให้เยื่อบุลำไส้บาดเจ็บ
Thermodynamic unstable
Non-specific erythermatous rash
ผื่นขึ้นชั่วคราว
retinal damage
ปิดตาไม่มิดชิดอาจทำให้ตาบอด
Bronze baby
ผิวคล้ำขึ้น
Disturb of mother-infant interaction
การพยาบาล
ปิดตาด้วยผ้าปิดตา(eye patch) ป้องกันการระคายเคืองต่อแสง
ถอดเสื้อผ้า จัดท่านอนคว่ำ-หงาย เพื่อให้โดยแสงทุกส่วน
ดูแลให้นอนตรงหลอดไฟ ห่างประมาณ35-50ซม
บันทึกการเปลี่ยนแปลงทุก2-4ชม.
สังเกตอุจจาระระหว่างส่องไฟ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะขาดน้ำ ถ่ายเหลว มีผื่น
ดูแลให้ได้ตรวบิลิรูบินทุก12ชม.
การเปลี่ยนถ่ายเลือด(exchange transfusion)
การพยาบาล
ดูแลร่างกายทารกให้อุ่น
บันทึกปริมาณเลือดเข้าออก สัญญาณชีพขณะเปลี่ยนถ่ายเลือด
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
สังเกตภวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย และหลังเปลี่ยนถ่ายวัดv/sทุก15min 30minจนคงที่
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อแรกเกิด vigorous จากการประเมินเมื่อ10-15sหลังเกิด
อาการ
มีแรงหายใจด้วยตนเอง กำลังกล้ามเนื้อดี HR>100/min ถ้ามีอาการผิดปกติอย่างใดอย่างนึงประเมินว่า
ไม่ตื่นตัวnon vigoroud
เสี่ยงสำลักขี้เทา
ลักษณะการถ่ายขี้เทาปนน้ำคร่ำขณะอยู่ในครรภ์
ลักษณะทางพยาธิปกติ
การmoveสำไล้สมบูรณ์
ลักษณะผิดปกติทางพยาธิของรกและทารก
รกทำงานผิดปกติ น้ำคร่ำน้อย ติดเชื้อในครรภ์
ความรุนแรง
รุนแรงน้อย
หายใจสั้นๆเพียง24-72hrs ทำให้แรงดันลดลง อาการหายใน24-72hrs
รุนแรงปานกลาง
มีการดึงรั้งของซี่ฌโครง รุนแรงสูงเมื่ออายุ24hrs
รุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน2-3hrsหลังเกิด
การพยาบาล
เพื่อให้ได้รับO2เพียงพอ ระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับO2 ติดตามอาการแสดงการขาดO2
ฺวัดBPทุก2-4hrs ระวังความดันต่ำจากPPHN
รบกวนทารกน้อยสุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
น้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม สะดุ้งผวา ซีด เขียว
สาเหตุ
ไม่ได้รับกูลโคสจากมารดา glycogenสะสมไว้น้อย เครียดขณะอยู่ในครรภ์
การรักษา
มีอาการร่วม
ให้สารละลายกูลโคสIV
ไม่มีอาการร่วม
แรกเกิด4hrs ให้นมภายใน1hsแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดหลังให้นม30นาที ถ้าน้อยกว่า25 ให้นมและติดตามอีก1hr ถ้าน้อยกว่า25ให้สารละลายกูลโคสIV
การดูแล
ทารกเสี่ยง ตรวจระดับน้ำตาลภายใน1-2hr และติดตามทุก1-2hr ใน6-8hr หรือจนปกติ
กรณีน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดตามทุก30นาที ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือให้สารละลายกูลโคสIV
ระดับน้ำตาลในพลาสม่าต่ำกว่า40mg%
นางสาวญาตาวี มนตรี รุ่น36/1 เลขที่31 รหัสนศ612001032