Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
ชีพจร
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
1) อายุ
2) เพศ
3) การออกกำลังกาย
7) ท่าทาง
4) ภาวะไข้
8) ภาวะเสียเลือด
5) ยา
6) อารมณ์
การประเมินชีพจร
การคลำชีพจรนิยมคลำตามตำแหน่งเส้นเลือดแดง
ที่ผ่านเหนือหรือข้าง ๆ กระดูก
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
1) อัตรา (Rate) การเต้นของชีพจร
2) จังหวะ (Rhythm) การเต้นชีพจร
3) ปริมาตรความแรง (Volume)
4) ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด
อุณหภูมิของร่างกาย
เป็นระดับความร้อนของร่างกาย
เกิดจากความสมดุลของการสร้าง
ความร้อนของร่างกาย
การสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
°C = (°F – 32)/ 1.8
อุณหภูมิส่วนแกนกลาง (Core temperature)
ศีรษะ (Cranium)
ทรวงอก (Thoracic)
ช่องท้อง (Abdominal cavity)
ช่องท้องน้อย (Pelvic cavity)
อุณหภูมิผิวนอก (Surface temperature)
แขน
ขา
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างความร้อน
และการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
1) กลไกของร่างกาย (Physiological mechanisms)
่ การเผาผลาญสารอาหารใน
ร่างกาย
อัตราการใช้พลังงานของร่างกายเพื่อดำรงกิจกรรมที่จำเป็น
การทำงานของกล้ามเนื้อ
การเพิ่มการ
หลังฮอร์โมนไทร็อกซิน
ภาวะไข้
ชนิดกลไกของร่างกาย
(1) การนำความร้อน (Conduction
(2) การพาความร้อน (Convection)
(3) การแผ่รังสี (Radiation)
(4) การระเหยเป็นไอ (Evaporation)
2) กลไกของการเกิดพฤติกรรม (Behavioral mechanism)
การถอดเสื้อผ้า
สิ่งตกแต่งที่ทำให้อุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของร่างกาย
1) ความผันแปรในรอบวัน
อุณหภูมิ
สูงสุดระหว่าง 20.00 และ 24.00 น. และต่ำสุดช่วงที่นอนหลับ 04.00-06.00 น
2) อายุ
อุณหภูมิร่างกายของเด็กทารกแรกเกิดจะไม่คงที่ เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ
ของร่างกายยังทำงานไม่เต็มที่จนกว่าจะถึงวัยผู้ใหญ
3) การออกกำลังกาย
พลังงานความร้อนจะถูกผลิตออกมาจากการ
หดตัว และการคลายตัวของกล้ามเนื้อ
4) อารมณ์
ความเครียดจะทำให้ไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติก จึงมีผลทำให้มีการผลิตความร้อนเพิ่มมากขึ้น
5) ฮอร์โมน
เพศหญิงมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกายมากกว่าเพศชาย
6) สิ่งแวดล้อม
สามารถเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของร่างกายได้
ถ้าร่างกายสัมผัสอุณหภูมิแวดล้อมที่เย็น หรือร้อนเป็นเวลานานๆ
7) ภาวะโภชนาการและชนิดของอาหารที่รับประทาน
คนผอมมากจะมีเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
และไขมันน้อย ส่งผลให้อุณหภูมิร่างกายต่ำได
8) การติดเชื้อในร่างกาย
แบคทีเรีย
การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
1) การวัดอุณหภูมิทางปาก (Oral temperature)
2) การวัดอุณหภูมิทางรักแร้(Axillary temperature)
3) การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก (Rectal temperature)
4) การวัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic temperature)
(1) การวัดทางห
(2) การวัดทางผิวหนัง
(1) เทอร์โมมิเตอร์
(2) ถาดพร้อมแก้วที่บรรจุปรอท น้ำสบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ตามลำดับ
(3) วาสลินสำหรับหล่อลื่น
(4) นาฬิกาที่มีเข็มวินาที
(5) ภาชนะใส่สำลีและกระดาษชำระที่สะอาด
(6) ชามรูปไต
(7) ปากกาน้ำเงินและแดง
(8) กระดาษบันทึก
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติ
และการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดปกติ
1) อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ(Hyperthermia)
(1) ระยะเริ่มต้น หรือระยะหนาวสั่น
อัตราการเต้นของชีพจรและการ
หายใจ เพิ่มขึ้น หนาวสั่น ซีด ผิวหนังเย็น
(2) ระยะไข้
หน้าแดง ผิวหนังอุ่น รู้สึกร้อนหรือหนาว
(3) ระยะสิ้นสุดไข้
ผิวหนังแดงและรู้สึกอุ่น มีเหงื่อออก อาการหนาวสั่นลดลง
กระบวนการพยาบาลในการประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพ
1) ซักประวัติการสัมผัสเชื้อ ระยะเวลา การรักษาก่อนมาโรงพยาบาล
2) ตรวจร่างกาย และประเมินสัญญาณชีพ
3) จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1) ไม่สุขสบายเนื่องจากอุณหภูมิร่างกายสูง
2) มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยมีอุณหภูมิร่างกายปกติ ป้องกันอาการชักจากภาวะไข้สูงและให้ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาล
1) ประเมินสัญญาณชีพ
2) เช็ดตัวลดไข้โดยใช้น้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
3) ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอเพื่อชดเชยปริมาณสารน้ำที่สูญเสีย
4) จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
5) ให้ยา Paracetmol ลดไข้/ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
6) ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินผลสัญญาณชีพ
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ความดันโลหิต
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิต
1) อายุ
2) อิริยาบถขณะวัดความดันโลหิต
3) ความเครียดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
4) ลักษณะของร่างกายและปัจจัยอื่น ๆ
การประเมินความดันโลหิต
1) การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง
2) การวัดความดันโลหิตโดยทางอ้อม
ลักษณะความดันโลหิตที่ผิดปกติ
1) Hypertension
2) Hypotension
3) Orthostatic hypotension
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ (Vital signs)
อุณหภูมิ
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
ข้อบ่งชี้ในการวัดสัญญาณชีพ
1) เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
2) วัดตามระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติของโรงพยาบาล
3) ก่อนและหลังการผ่าตัด
4) ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรค
ที่ต้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
5) ก่อนและหลังให้ยาบางชนิดที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด
การหายใจ และการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
6) เมื่อสภาวะทั่วไปของร่างกายผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
ความรู้สึกตัวลดลง
มีความรุนแรงของอาการปวดเพิ่มขึ้น
7) ก่อนและหลังการให้การพยาบาลที่มีผลต่อสัญญาณชีพ
ก่อนให้ผู้ป่วยที่เดิม
Bedrest มีการ ambulate
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
ค่าสัญญาณชีพของแต่ละบุคคล ปกติจะไม่เท่ากัน
ขึ้นอยู่กับอายุ เพศ
ตรวจในขณะพัก หรือหลังการเคลื่อนไหว
ค่าสัญญาณชีพปกติในผู้ใหญ่ ที่มักใช้เป็น
เกณฑ์ในการประเมินความผิดปกติของสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร = 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ = 12-20 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic = 90-140 mmHg
Diastolic = 60-90 mmHg
การหายใจ
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจ
1) การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
2) การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือด
การประเมินการหายใจ
นับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจ 1 ครั้งไป
จนครบ 1 นาทีเต็ม
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
1) อัตราเร็วของการหายใจ
2) ความลึกของการหายใจ
3) จังหวะของการหายใจ
4) ลักษณะของการหายใจปกติ
5) ลักษณะเสียงหายใจที่ผิดปกติ
6) สีของผิวหนังที่ผิดปกติ