Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ใช้สำหรับภายนอกทั้งนี้ไม่รวมยาเฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ ทวารหนัก
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆทางเภสัชกรรม บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่ปิดผนึกไว้และมีฉลากครบถ้วน
ยาแผนโบราณ
ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือบำบัดโรคสัตว์ ยาที่ได้รับขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ ซึ่งไม่ได้แปรสภาพ
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่ใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบำบัดสัตว์
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
เป็นการแบ่งประเภทยาที่นิยมใช้มากที่สุด อาจใช้ร่วมกับตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาระบายทำให้ลำไส้บีบตัวรัดตัวเพิ่มขึ้น
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ระบบประสาท
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบการไหลเวียนเลือด
แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ
ยากลุ่มกลัยโคไซด์ที่ได้จากพืช
ความหมายของยา
2.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา ป้องกันโรค ความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
3.วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
1.วัตถุที่รองรับไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
4.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใดๆของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์วัตถุตาม(1)(2)หรือ(4)ไม่หมายความรวมถึง
(ก)วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์ เครื่องกีฬา เครื่องมือ เครื่องใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ เครื่องสำอาง หรือเครื่องมือและส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใข้ในห้องวิทยาศาสตร์สำหรับการวิจัย การวิเคราะห์ หรือการชันสูตรโรคซึ่งมิได้กระทำโดยตรงต่อร่างกายมนุษย์
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
สัตว์
สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
ตับอ่อน
ดีหมู
ตับ
แร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
พืช
ราก ใบ ลำต้น ผล เมล็ด เปลือกนำมาปรุงยาโดยไม่เปลี่ยนแปลงรูป
ยาสมุนไพร
สกัดเอาสารที่มีอยู่ในพืชออกมาทำให้บริสุทธิ์
สารสกัดบริสุทธิ์
จาการสังเคราะห์
ปัจจุบันยาส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ อาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
เกลือของเหล็กใช้บำรุงโลหิต
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม(Pharamaceutical preparations,Pharmaceutucal products)
รูปแบบที่เป็นของแข็ง(solid form)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม(Lozenge)และโทเช(Troche)
ยาอมใต้ลิ้น(Sublingual)
ยาผงเดือดฟู่(Effervescent powder)
ยาเม็ด(Tablet)
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดที่ไม่เคลือบ
ยาผง(Pulveres หรือ powder)
ยาแคปซูล(Capsule)
ยาเหน็บ(Suppositories)
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาน้ำเชื่อม(Syrups)
ยาจิบ(Linctuses)
ยาน้ำใส(Solutions)
ยากลั้วคอ(Gargale)
น้ำปรุง(Aromatic water)
ยาอมบ้วนปาก(Mouthwash)
ยาหยอดจมูก(Nasal preparations)
ยาหยอดหู(Otic preparations)
ยาสวนล้าง(Irrigation)
ยาน้ำสวนทวารหนัก(Enemas)
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเดียน(Collodians)
ยากลีเซอริน(Glycerines)
ยาสปริริต(Spirits)
ยาถูนวด(Liniments)
ยาอิลิกเซอร์(Elixir)
ยาป้าย(Paints)
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์(Magmas and milk)
มิกซ์เจอร์(Mixtures)
โลชั่น(Lotions)
อิมัลชั่น(Emulsion)
เจล(Gels)
ประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง(Olitment)
ครีม(Paste)
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง(Applications)
ยาพ่นฝอย(Spray)
ยาฉีด(Injections)
ยาดม(Inhalant)
ข้อดีข้อเสียของการให้ยา
ยาพ่นฝอย ยาแอโรซอล สูดดม และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
ยาออกฤทธิ์เร็ว และสามารถให้ยาได้ด้วยตนเอง
ยาจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
วิธีการให้ยาไม่สะดวก
ปริมาณยาที่ได้ไม่แน่นอน
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อยกว่าการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
สามารถใช้กับยาที่ฉีดละลายในน้ำมัน
ข้อเสีย
สามารถให้ยาได้ไม่เกิน5มิลลิลิตร
การสะสมยาไว้ที่เนื้อเยื่ออาจทำให้การดูดซึมยาช้าลง
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร
ใช้ในรายที่หมดสติหรืออาเจียนได้
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรงถึงชีวิต
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย เกิดการทำลายผนังหลอดเลือด
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆให้ยาออกฤทธิ์ได้นานพอควร
หลังฉีดยาหากแพ้ยาเฉียบพลันสามารถใช้tourniquest รัดเหนือบริเวณที่ฉีดยาบางแห่งได้
ข้อเสีย
ยาบางชนิดระคายเคือง
บริเวณที่ฉีดทำให้เกิดแผลหรือฝีได้
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
ยาบางชนิดรสชาติไม่ดี ยาอาจระคายเคืองเยื่อบุภายในปาก
ใช้เวลานานไม่สะดวกในการพูด
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวกปลอดภัย ราคาถูก
หากเกิดอันตรายจากการทานยาส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรงและเร็วเท่ายาฉีด
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า ไม่คงตัว
ยาอาจถูกทำลายโดยกรดและน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ยาเหน็บ
ข้อดี
เหมาะกับเด็กหรือผู้ที่รับประทานยายาก
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้ ราคาแพง
สำหรับยาที่ใช้เหน็บช่องคลอดอาจเกิดการติดเชื้อภายในของอวัยวะสืบพันธ์ุได้
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา(generic name)
แบ่งเป็นกลุ่มๆ ชื่อยาที่อยู่ในกลุ่มมีฤทธิ์เหมือนกัน
ยาลดไข้
ยาแก้อักเสบ
ยาถ่าย
เรียกชื่อตามสูตรเคมี(chemical name)
เรียกตามลักษณะส่วนประกอบทางเคมีของยาตั้งแต่การเรียงตัวของอะตอมหรือกลุ่มอะตอม
เรียกชื่อตามการค้า(trade name)
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิดหรือตัวแทนจำหน่ายยา เป็นผู้ตั้งและขอจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณสุข ตั้งชื่อยาให้น่าสนใจ จำง่าย
ยากลุ่มacetylsalicylic acid
Beramol
Paracetamol
Sara
Tylenol