Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส…
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
เริม
เกิดจากเชื้อ Herpes simplex virus
ทารกหลังคลอดอาจมีการติดเชื้อจากมารดา
อาการของทารก
ไข้ อ่อนเพลีย
การดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง ตับ ม้ามโต
ชัก
บางรายพบมีตุ่มน้ำพองใสเล็กๆ ที่ผิวหนังตามร่างกาย
แนวทางการรักษา
แยกทารกออกจากทารกคนอื่นและดูแลอย่างใกล้เพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม อย่างน้อย 7-10 วัน
ดูแลให้ได้รับยา Acyclovir ตามแผนการรักษา
รักษาตามอาการ
• 0.9% NSS ล้างแผล /แช่น้ำอุ่น/เกลือเย็น/ยาแก้ปวด
HSV 1 เกิดที่ปาก
HSV 2 เกิดที่อวะยวะเพศ
การตรวจ
•Pep smear ขูดเนื้อเยื่อจากแผล
• Tzanck's ทำใหตุ่มน้ำใสแตก
•การเพาะเชื้อ
*
แม่นยำ
การคลอด
-พบรอยโรค C/S / เคยมีประวัติคลอดทางช่องคลอด
หลังคลอด
แยกทารกจากทารกอื่น สามารถดูดนมมารดาได้ **ยกเว้นหัวนมแตก
โรคเอดส์ (AIDS)
เกิดจากการติดเชื้อ HIV
การติดต่อจากมารดาไปสู่ทารก : ทางรกการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งจากมารดาขณะคลอด และหลังคลอด และเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาหลังคลอด
การให้ยาต้านไวรัสและการผ่าตัดคลอดก่อนการเจ็บครรภ์สามารถ
ป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัส HIV จากมารดาสู่ทารกได้
แนวทางการรักษา
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะอาหารทารกโดยไม่จำเป็น
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อจะต้องได้รับยา NVP ชนิดน้ำขนาด 6 มิลลิกรัมทันทีหรือภายใน 8 -12 ชั่ว โมงหลังคลอดร่ว มกับ AZT 2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หลังจากนั้นจะให้ยา AZT ต่อทุก 2 ชั่วโมง
ตรวจหาการติดเชื้อ เพื่อหา viral load ด้วยวิธี real time PCR assay ถ้าพบเชื้อ HIV-RNA ใน 48 ชม.แรกหลังคลอด แสดงว่าทารกติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์ ถ้าตรวจพบใน 6 สัปดาห์ แสดงว่าติดเชื้อในระยะคลอด
เมื่อทารกครบ 12 เดือน ควรตรวจหาภูมิต้านทานชนิด IgG และ IgM และควรตรวจอีกครงั้เมื่อ 18 เดือน
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้ทราบความหมายของการตรวจเลือดที่ได้ผลบวกผลของการติดเชื้อที่มีต่อมารดาและทารก และพร้อมให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจพบเชื้อ
สอนวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
แนะนำวิธีรักษาสุขภาพอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจเลือดและควรใช้ถุงยางอนามัยทุกคร้ังที่มีเพศสัมพันธ์
ระยะคลอด
แยกห้องคลอดเตียงคลอด
หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องมือในการทำคลอด
ปฏิบัติตามหลักการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัสเอดส์อย่างเคร่งครัด
ระยะหลังคลอด
ใช้หลัก Universal precaution ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ควรจัดให้อยู่ในห้องแยกห้องเดียวกัน มีห้องน้ำในห้องแยก
การวินิจฉัย
-การซักประวัติเช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อใช้เข็ม ฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ
-การตรวจร่างกายเช่น มีไข้ต่อมน้ำ เหลืองโต น้ำหนักลด
-การตรวจหาแอนตี้บอดี้ต่อเชื้อเอดส์
Screening test เช่น ELISA, PA
Confirmatory test เช่น WB, RIPA, IFA
สุกใส
เกิดจากเชื้อไวรัส varicella virus
ระยะติดต่อ : ตั้งแต่ 24 ชม.ก่อนผื่นขึ้นและ 6 วันหลังผื่นขึ้น
ถ้ามีการติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
ระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ อาจทำให้ทารกในครรภ์พิการได้
GA 6-12 wks. เกิดความผิดปกติของแขน ขามากที่สุด เช่น แขนขาลีบ
GA 16-20 wks. จะมีผลต่อการพัฒนาการทางสมอง และตา
ถ้าหญิงตั้งครรภ์เป็นสุกใสระยะก่อนคลอด 5 วัน หรือหลังคลอด 2 วัน ทารกที่เกิดมาอาจเป็นสุกใสชนิดรุนแรงได้
แนวทางการรักษา
ถ้ามีอาการขณะคลอด มารดาและทารกควรได้รับการแยกกันดูแลจนกระทั่งมารดามีการตกสะเก็ดตุ่มสุกใสจนหมด และทารกควรได้รับการแยกจากทารกที่คลอดจากมารดาปกติด้วย
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อสุกใสภายใน 5 วันก่อนคลอดหรือ 2 วันหลังคลอด ควรได้รับ varicella-zoster immunoglobulin (VZIG) ทันทีที่คลอด
มีบางรายงานแนะน าว่าควรให้ยา Acyclovir ร่วมกับ VZIG ในทารกแรกคลอด เนื่องจากได้ผลการรักษาดีกว่า VZIG เพียงตัวเดียว
หูดหงอนไก่
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Human papilloma virus(HPV) type6/11
อาการและอาการแสดง
พบหูดขึ้นรอบๆทวารหนักและในทวารหนัก ก้อนสีชมพูนุ่มผิวขรุขระ มีสะเก็ด
มักรวมกัน เป็นก้อนใหญ่คล้ายดอกกะหล่ำ ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
การรักษา
1.การรักษาด้วยสารเคมีเช่น จี้ด้วย trichloacetie acid
2.การจี้ด้วยไฟฟ้า แสงเลเซอร์พบว่า ได้ผลดี
การคลอด
การคลอดสามารถคลอดได้ทางช่องคลอด ยกเว้นมีหูดขนาดใหญ่ควรพิจารญา C/S
นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125