Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ, การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิส่วนแกนกลาง เป็นอุณหภูมิของเนื้อเยื่อชั้นลึกของร่างกาย เช่น ศรีษะ ทรวงอก ช่องท้อง ช่องท้องน้อย
-
-
-
-
-
การหายใจ
-
การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือด กับเซลล์ของ เนื้อเยื่อต่างๆในร่างกาย (Internal respiration)
-
-
-
สีของผิวหนังที่ผิดปกติ ได้แก่ Cyanosis พบเยื่อบุและผิวหนังมีสีม่วงคล้ำซึ่งบ่งชี้ถึง การขาดออกซิเจนเนื่องจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง
-
-
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ -เป็นสิ่งที่ทำให้ทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและตรวจพบได้จาก อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
-
-
ชีพจร
-
การประเมินชีพจร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
วิธีการปฏิบัติ
ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งท่ีต้องสังเกตคือ อัตรา(จํานวน/ต่อนาที) จังหวะการเต้นมีความสม่ำเสมอ และปริมาตรความแรง
การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจต้อง
ใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจแทน
การคลําชีพจร เพราะในเด็กเล็กคลําชีพจรได้ไม่ชัดเจน
พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบาๆ
ตรง Radial artery ของ
ผู้ป่วยทําให้รู้สึกถึงการหดตัว และขยายตัวของหลอดเลือด
-
-
-
-
-
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
-
-
ปริมาตรความแรง (Volume)
ระดับ 0 ไม่มีชีพจร คลําชีพจรไม่ได้
ระดับ 1 Thready ลักษณะชีพจรแผ่วเบา
ระดับ 2 Weak ชีพจรแรงกว่าระดับ 1 ค่อนข้างเบา
ระดับ 3 Regular ลักษณะชีพจรเต้นจังหวะสม่ำเสมอ
ระดับ 4 Bounding pulse ลักษณะชีพจรเต้นแรง
-
-