Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิร่างกาย
สูตรเปลี่ยนหน่วย
องศาเซลเซียส = (องศาฟาเรนไฮต์ - 32 )/1.8
อุณหภูมิส่วนแกนกลาง
ศีรษะ
ช่องท้อง
อุณหภูมิผิวนอก
แขน
ขา
เพิ่มหรือลดตามสภาพแวดล้อม
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและระบายความร้อน
กลไลของร่างกาย
นำความร้อน
ระบายความร้อนโดยการสัมผัสของเย็น
พาความร้อน
ระบายความร้อนผ่านตัวกลาง
แผ่รังสี
ระบายความร้อนในรูปแบบแม่เหล็กไฟฟ้า
ระเหยเป็นไอ
ระบายความร้อนโดยระเหยจากผิวของร่างกาย
ทางผิวหนัง 87.5%
ทางลมหายใจ 10.7%
ทางอุจจาระ ปัสสาวะ 1.7%
กลไกการเกิดพฤติกรรม
การทำหรือลดกิจกรรมต่างๆ
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิ
ความผันแปรในรอบวัน
อายุ
การออกกำลังกาย
อารมณ์
ฮอร์โมน
สิ่งแวดล้อม
ภาวะโภชนาการ
การติดเชื้อในร่างกาย
การประเมิน
วัดทางปาก
นิยมใช้มากที่สุด
วัดทางรักแร้
ใช้ในกรณีที่วัดทางปากและทวารหนักไม่ได้
วัดทางทวารหนัก
มักใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
วัดโดยเทอร์โมมิเตอร์
ทางหู
ทางผิวหนัง
ภาวะอุณหถูมิผิดปกติ
สูงกว่าปกติ
ระยะเริ่มต้น
อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น
ผิวซีด หนาวสั่น
ระยะไข้
ตัวร้อน
ปวดหัว เหงื่อออก
ระยะสิ้นสุดไข้
ผิวแดง อุ่น
อาจเกิดภาวะขาดน้ำ
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยพักผ่อน
ทำให้สภาพแวดล้อม อากาศถ่ายเท
ให้ทานยาลดไข้
วัดอุณหภูมิหลังเช็ดตัว หรือทานยาเสร็จ 30 นาที
การลูบตัวลดไข้
ด้วยน้ำธรรมดา
ด้วยน้ำเย็นจัด
ใช้น้ำผสมน้ำแข็ง อัตราส่วน 1:1
ด้วยน้ำอุ่น
ด้วยแอลกอฮอล์
แอลกอฮอล์ 25% อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส
ต่ำกว่าปกติ
การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น
คลุมศีรษะด้วยผ้าขนหนูผืนใหญ่
ถูและนวดผิวหนัง
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
กระบวนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัย
เกิดจากอะไร
มีภาวะอะไร
การวางแผน
วางแผนการพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยกลับสู่ภาวะปกติ
การปฏิบัติ
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลอย่างดี
จัดแวดล้อมให้สงบเงียบ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
การประเมินผล
สังเกตอาการของผู้ป่วยหลังได้รับการรักษา
สัญญาณชีพ และอุณหภูมิปกติ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิต
ความหมาย
แรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือด
การประเมิน
วัดโดยตรง
ใส่สายสวนเข้าไปใน Superior vena cava
และใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
วัดโดยอ้อม
วิธีการฟัง
วิธีการคลำ
เครื่องมือใช้วัด
แบบแท่งปรอท
แบบแป้นกลม
ลักษณะที่ผิดปกติ
Hypotension
ความดันต่ำ ต่ำกว่า 90/60 mmHg
อาการ
อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
ตัวเย็น
เป็นลม หมดสติ
Hypertension
ความดันสูง มากกว่า 140/90 mmHg
อาการ
ปวดหัว
ตาพร่า
คลื่นไส้ อาเจียน
ชัก และหมดสติ
Orthostatic hypotension
ความดันตกในท่ายืน
ทำให้หน้ามืดเป็นลม
ปัจจัยที่มีผล
อายุ
ท่างทางขณะวัด
ความเครียด
ลักษณะอื่นๆของร่างกาย
รูปร่าง
เพศ
ยา
สัญญาณชีพ
ความหมาย
การแสดงให้ทราบว่ายังมีชีวิต
ข้อบ่งชี้ในการวัด
วัดเมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
วัดตามแบบแผนของโรงพยาบาล
ก่อนและหลังผ่าตัด
ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรค
เมื่อสภาวะทั่วไปของผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
ก่อนและหลังให้การพยาบาล
ค่าปกติ
อุณหภูมิ
36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร
60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ
12-20 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต
Systolic
90-140 mmHg
Diastolic
60-90 mmHg
ชีพจร
ความหมาย
การหดและขยายตัวของหนังหลอดเลือด
ปัจจัย
อายุ
ผู้ใหญ่อัตราการเต้น 60-100 ครั้ง/นาที
อายุเพิ่ม อัตราการเต้าจะลดลง
เพศ
เพศหญิงเร็วกว่าชาย ในวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่
การออกกำลังกาย
ภาวะไข้
ยา
บางชนิดลดอัตราการเต้นของหัวใจ
อารมณ์
ท่าทาง
ยืนชีพจรเร็ว นอนชีพจรช้า
ภาวะเสียเลือด
อัตราการเต้นของชีพจรสูงขึ้น
ชีพจรเบาเร็ว เป็นอาการช็อก
การประเมิน
ตำแหน่งการจับ
Temporal pulse
จับที่เหนือและข้างๆตา บริเวณTemporal bone
Carotid pulse
ด้านค้างคอ คลำได้ชัดเจนสุดบริเวณมุมขากรรไกร
Brachial pulse
ด้านในกล้ามเนื้อ Bicep คลำได้บริเวณข้อพับแขนด้านใน
Radial pulse
ข้อมือด้านใน บริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอก หรือด้านหัวแม่มือ
Femoral pulse
บริเวณขาหนีบตรงกลางๆ ส่วนของเอ็นที่ยึดขาหนีบ
Popliteal pulse
บริเวณข้อพับเท้า ถ้างอจะคลำได้ง่าย
Dornails pulse
บริเวณกลางหลังเท้า ระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้
Apical pulse
อยู่ที่ยอดหัวใจ หน้าอกด้านซ้าย บริเวณที่ตั้งของหัวใจ
Posterior tibial pulse
บริเวณหลังปุ่นกระดูกเท้าด้านใน
วัตถุประสงค์
ประเมินจังหวะ และความแรงในการเต้นของชีพจรใน 1 นาที
ตรวจสอบการทำงานเบื้องต้น
ข้อควรจำในการวัด
ไม่ควรใช้นิ้วหัวแม่มือคลำชีพจร
วัดชีพจรหลังทำกิจกรรม 5-10 นาที
แนะนำให้ผู้ป่วยไม่ควรพูดตอนวัดชีพจร
ลักษณะที่ผิดปกติ
สิ่งที่ต้องสังเกต
อัตรา
ปกติ 60-100 ครั้ง/นาที
ผิดปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจในผู้ใหญ่ มากกว่า 100 ครั้ง/นาที
Tachycardia
อัตราการเต้นของหัวใจในผู้ใหญ่ น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
Bradycardia
จังหวะ
ช่วงพักระหว่างจังหวะเท่ากัน จะปกติ
Pulse regularis
ช่วงพักไม่เป็นจังหวะ ชีพจรไม่สม่ำเสมอ
Arrhythmia
ปริมาณความแรง
ระดับ 0 ไม่มีชีพจร
คลำชีพจรไม่ได้
ระดับ 1 Thready
ชีพจรแผ่วเบา
ระดับ 2 Weak
ชีพจรแรงกว่าระดับ1 แต่ค่อนข้างเบา
ระดับ 3 Regular
ชีพจรเต้นจังหวะสม่ำเสมอ
ระดับ 4 Bounding pulse
ชีพจรเต้นแรง
ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือด
ผนังตรงและเรียบ จะมีความยืดหยุ่นดี
ผนังขรุขระ จะมีความยืดหยุ่นน้อย
การหายใจ
ความหมาย
การนำออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่ร่างกาย
และขับคาร์บอนไดออกไซด์ออก ผ่านปอด
หายใจเพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือด
ซึมผ่านหลอดเข้าเส้นหลอดเลือดดำ เพื่อกลับไปฟอกที่ปอด
หายใจเพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ในปอด
สูดอากาศเข้าปอด มีออกซิเจน 21%
ไล่อากาศออกปอด มีออกซิเจนเหลือ 16-18%
การประเมิน
การปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด
ขออนุญาตผู้ป่วย
นับการหายใจหลังชีพจรเต้นแล้ว
นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ ลักษณะการหายใจใน 1 นาที
บันทึกลงกระดาษ
ล้างมือให้สะอาด
ลักษณะที่ผิดปกติ
อัตราเร็วในการหายใจ
มากกว่าหรือน้อยกว่า 12-20 ครั้ง/นาที
ความลึกของการหายใจ
สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก
จังหวะของการหายใจ
ถ้าปกติการหายใจเข้า-ออกจะสม่ำเสมอ
ลักษณะของการหายใจ
ถ้าปกติจไละไม่ต้องออกแรง ไม่มีเสียง ไม่เจ็บปวด
ลักษณะเสียงหายใจ
เสียงวี๊ด เสียงฟืด
สีของผิว
ผิวสีม่วงคล้ำ