Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 Asthmatic attack - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 1
Asthmatic attack
ข้อมูลทั่วไป
การตรวจร่างกาย (แรกรับ ER)
เด็กกระสับกระส่าย หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน
หอบเหนื่อยขณะพูดและร้องไห้ ต้องนอนในท่าศีรษะสูง
ร้องไห้ ไม่ยอมพ่นยา
P 112/min, R 46/min, Oxygen saturation 93%
mild dry lip, injected pharynx and tonsil,
purulent nasal discharge,
swelling and redness nasal turbinate
Intercostal retraction,
expiratory wheezing and crepitation
upper lobe both lung,
prolonged expiratory phase
Investigation
WBC 12x10^3 cell/mm^3, Neutrophil 84%, Lymphocyte 9%
Chest X-ray: Hyperinflation
Skin prick test: positive to house dust mite 10x8 mm.
อาการสำคัญ
หายใจหอบเหนื่อย
อกบุ๋ม
มีเสียงดังวี๊ด
ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 3 ปี Dx. Asthmatic attack
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Domain 4 class 4 แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ (เนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ)
ข้อมูลสนับสนุน
Objective:
ผู้ดูแลบอกว่าผู้ป่วยมีหายใจหอบเหนื่อย อกบุ๋ม มีเสียงวี๊ด
พ่นยาขยายหลอดลมอาการไม่ดีขึ้น เด็กกระสับกระส่าย หายใจเร็ว
ปีกจมูกบาน หอบเหนื่อยขณะพูดและร้องไห้
V/S : P 112/min, R 46 /min, Oxygen saturation 93%
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ : purulent nasal discharge,
swelling and redness nasal turbinate,
Intercostal retraction, expiratory phase, Hyperinflation
เป้าหมายการพยาบาล
หายใจได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ และร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ on O2 cannula 3 LPM, keep O2 Sat > 95% ตามแผนการรักษา
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และให้ยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้สารน้ำ 5% DN/3 1000 ml ทาง IV 60 ml/hr
NSS ล้างจมูก และใช้ลูกยางแดงดูดน้ำมูก
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากอาการและอาการแสดง
ดูแลให้พักผ่อน จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ รบกวนผู้ป่วยเมื่อจำเป็น
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
ติดตามฟังแล้วบันทึกเสียงหายใจที่ผิดปกติ
ดูแลผู้ป่วยตาม GINA Guidelines
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมในการรักษาโรค
ดูแลแนะนำให้หลีกเลี่ยงสารที่ทำให้ก่อภูมิแพ้ เช่น ไรฝุ่น
ประเมินระดับความรุนแรง การรักษา เฝ้าระวังติดตามและควบคุมอาการของโรค
เกณฑ์การประเมิน
ฟังเสียงหายใจได้เสียงปกติ ไม่มีเสียงวี้ด
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
หายใจปกติ ไม่หอบเหนื่อย ไม่มีอกบุ๋ม, R 20-30/min
Oxygen saturation >95%
ประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยหายใจปกติ ไม่หอบเหนื่อย ไม่มีอกบุ๋ม อัตราการหายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ฟังเสียงหายใจได้เสียงปกติ ไม่มีเสียงวี้ด
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน = 95%
คำแนะนำผู้ป่วยสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย
โรคหืดต่อเนื่องที่บ้าน
T=Trealtment
แนะนำผู้ปกครองดูแลเด็กให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ห้ามหยุดยาเอง
แนะนำผู้ปกครองดูแลเด็กให้ได้รับการล้างจมูกอย่างสม่ำเสมอ
หากมีการพ่นยาสเตียรอยด์ร่วมกับยาขยายหลอดลม ให้พ่นยาขยายหลอดลมก่อน
เเละหลังพ่นยาสเตียรอยด์ให้บ้วนปากทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้เกิดอาการหอบหืดเฉียบพลัน และนำยาพ่นติดตัวอยู่เสมอ
H=Health
ส่งเสริมฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ
ตลอดจนป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ส่งเสริมการทำกิจวัตรประจำวันได้ โดยอาการไม่กำเริบ
แนะนำครอบครัวดูแลเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วย
ทำกิจกรรมที่เหมาะสม ไม่หักโหมจนเกินไป
ส่งเสริมให้ครอบครัวเข้าใจถึงภาวะเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ในเรื่องข้อจำกัดการทำกิจกรรมต่างๆ
E=Environment and Economic
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมที่บ้านกับสุขภาพของผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการปูพรม ติดม่าน หรือมีตุ๊กตาหลายตัว
และใช้เครื่องดูดฝุ่นอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
O=Outpatient Referal
หากอาการผู้ป่วยไม่ดีขึ้น หรืออาการรุนแรงขึ้น
สามารถพามาพบแพทย์ก่อนนัดได้
นัดติดตามอาการหลังจากกลับบ้าน 2 สัปดาห์
เน้นย้ำให้ครอบครัวพาผู้ป่วยมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
D=Diet
เลือกรับประทานอาหารครบ 5 หมู่เหมาะกับโรค
หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอัยตรายต่อสุขภาพ
D=Diagnosis
การให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ ถึงสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
M=Medictin
ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เกี่ยวกับยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด เกี่ยวกับชื่อยา ฤทธิ์ยา
วัตถุประสงค์ของการใช้ยา ขนาด ปริมาณ จำนวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ รวมถึงข้อห้ามของการใช้ยา
Ventolin
ป้องกันและรักษาอาการหายใจมีเสียงหวีดเนื่องจากหายใจขัด
หายใจลำบาก แน่นหน้าอก
อาการไม่พึงประสงค์: มือสั่น ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรผิดปกติ ความดันโลหิตต่ำ
ข้อควรระวัง: ไม่แนะนำให้ใช้ยานี้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
Berodual
ยาขยายหลอดลมที่ใช้ป้องกันและรักษาอาการที่เกิดจาก
ทางเดินหายใจตีบแคบในโรคหอบหืด
อาการไม่พึงประสงค์: กล้ามเนื้อสั่น กระสับกระส่าย ปากแห้ง เวียนศีรษะ
ข้อควรระวัง: ผู้ป่วยที่มีอาการหอบหืดรุนแรงน้อย ควรใช้ยาเฉพาะเมื่อมีอาการ
Amoxycilin
ยาฆ่าเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
อาการไม่พึงประสงค์: เกล็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดต่ำ หายใจลำบาก
ลิ้นเป็นฝ้าขาว มีผื่นคันตามผิวหนัง
ข้อควรระวัง: ระวังในผู้ป่วยแพ้ยากลุ่มเพนิซิลินในผู้ป่วยหอบหืด
Inflammide
ข้อบ่งใช้ในเด็กอายุ 2-12 ปี ขนาด 200-800 ไม่โครกรัมต่อวัน โดยแบ่งพ่น
รักษาโรคหอบหืดแบบต่อเนื่อง โดยใช้เพื่อป้องกันภาวะหอบหืด
อาการไม่พึงประสงค์: ติดเชื้อ เยื่อจมูกอักเสบ ไอ
ข้อควรระวัง: ไม่แนะนำให้ใช้ยาชนิดพ่นผ่านทางปากเป็นหลัก ควรให้ยาในรูปแบบเนบูไลเซอร์
Asthmatic attack
อาการและอาการแสดง
หายใจมีเสียงวี้ด
หายใจลำบาก แน่นหน้าอก และไอซ้ำๆ โดยเฉพาะตอนกลางคืนและรุ่งเช้า
อาการหอบเป็นๆ หายๆ
ในเด็กมักเริ่มจากการอาการไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ ไอมากเวลากลางคืนหรือเช้ามืด โดยเฉพาะ
ช่วงอากาศเย็น อากาศเปลี่ยน หรือออกกำลังวิ่งเล่นมากๆ
ปัจจัยและสาเหตุส่งเสริมการเกิดโรค
พันธุกรรม
สารก่อภูมิแพ้ เช่น ไรฝุ่น ขน
ปัจจัยเสริม เช่น การติดเชื้อโดยเฉพาะทางเดินหายใจส่วนบน สิ่งระคายเคือง
เป็นโรคที่มีอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
ทำให้หลอดลมไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ มากกว่าคนปกติ ---> เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอดลม ---> เยื่อบุผิวบวมขึ้น
หลั่งน้ำมูกในหลอดลมเพิ่มขึ้น ---> หลอดลมตีบแคบลง