Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, 612001006กมลชนก ทองมาก เลขที่6…
บทที่13
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
.
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินภาวะแหวะนมและการอาเจียน
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
การดูแลทางโภชนาการ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้ง ระยะสั่น และระยะยาว
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื่อ
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
.
การจำแนกตามน้ำหนัก
Normal birth weight infant (NBW infant) ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800-4,000 กรัม
Very low birth weihht ตีากว่า 1,000g.
Extremely low birth weight (ELBW) ต่ำกว่า1,000 g.
การจำแนกตามอายุครรภ์
.
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant)
อายุครรภ์มากกว่า 37-41 Wks.
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant)
อายุครรภ์มากกว่า 41Wks.
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant)
อายุครรภ์น้อยกว่า 37 Wks
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด Hyperbilirubinemia
.
.
อันตรายจากการมีบิลลิรูบินสูง: Kernicterus เข้าสู่สมองสมองได้รับบาดเจ็บ การตายของเซลล์ประสาทเกิดความพิการของสมองถาวร
.
การวินิจฉัย:1.ประวัติของครอบครัว 2.ตรวจร่างกาย3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ Direct bilirubin indirect bilirubin ,3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ Direct bilirubin indirect bilirubin ,ABO Rh ,Direct Coombs'test ,CBC ,Peripheral blood smearReticulocyte count ,G-6-PD
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาด้วยการส่องไฟ
.
Increased water loss / Dehydration
Diarrhea
Increases metabolic rate
Retinal damage
Bronze bady/Tanning
Disturb of mother-infant interaction
Thermodynamic unstable
Non-specific erythrematous rash
การพยาบาล Exchange transfusion
.
4.ขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือเข้า ออก วัดV/S
5.สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวายแคลเซียมในเลือดต่ำน้ำตาลในเลือดสูง ตัวเย็น ติดเชื้อ
3.ดูแลร่างกายทารกให้อบอุ่น
6.ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก15 นาที ทุก 30 นาที จนคงที่
2.เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟนคืนชีพให้พร้อม
1.อธิบายให้บิดามารดาทราบ
.
สาเหตุ:1.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่ม ขึ้นมากกว่าปกติจากภาวะต่างๆที้มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
2.การดูดซึมบิลลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
3.กำจัดบิลลิรูุบินได้น้อยลง
4.สร้างบิลลิรูบินเพิ่ม ขึ้นกำจัดได้น้อยลง
การพยาบาลการ
รักษาด้วยการส่องไฟ
.
4.บันทึกและรายงานการเปลียนแปลงของสัญญาณชีพทุก 4 ชม.
5.สังเกตลักษณะอุจจาระบันทึกลักษณะของอุจจาระอย่างละเอียดเพื่อประเมินภาวะสูญเสียน้ำ
3.ดูแลให้นอนอยุ่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟห่างประมาณ 35-50 cm.
6.ตรวจเลือดหาระดับบิลลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12ชม.
2.ถอดเสื้อผ้าออกและจัดทารกอยู่ในท่า
นอนหงาย/นอนคว่ำ เปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชม.
7.สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษาได้แก่ ภาวะขาดน้ำ ถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่นที่ผิวหนังภาวะแทรกซ้อนที่ตา
1.ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา Eyes patchesป้องกันการระคายเคื่องของแสงต่อตา เปิดตาทุก 4 ชมเปลี่ยนผ้ปิดตาทุก 8-12 ชม.
แบ่งออกเป็น
.
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ Physiological jaundice
พบในช่วงวันที่ 2-4 หลังคลอด หายไปเองใน 1-2 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ Pathological jaundice
พบภายใน 24 ชม. แรกหลังเกิด Bilirubin สูงมากเหลืองเร็ว
การรักษา:การส่องไฟ Phototherapy
การเปลี่ยนถ่ายเลือด Exchange transfusion
เกิดจากBilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ ถ้าสูงมากอาจทำให้เกิดภาวะKernicterrus
MAS;Meconium aspiration syndromeการสูดสำลักขี้เทา
.
ความรุนแรง
.
รุนแรงปานกลาง หายใจมีความรุนแรงมากขึhน
มีการดึงรั้งของช่องซีกโครง รุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชม.
รุนแรงมาก ระบบหายใจล้มเหลวทันที / ภายใน 2-3ชม.หลังเกิด
รุนแรงน้อย หายใจเร็วระยะสั่นๆ เพียง 24-72 ชม.
แรงดันลลดลง ค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ หายเอง
การพยาบาล
.
2.วัดความดันโลหิตทุก 2-4 ชั่วโมงเฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำาจาก PPHN
3.รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
1.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
4.สังเกตอาการติดเชื้อ
เป้าหมาย เพื่อให้ทารกได้รับ O2 เพียงพอเฝ้าระวังการติดเชื้อ
5.ดูแลตามอาการ
.
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อแรกเกิดเรียกว่า Vigorousได้จากการประเมินทารกโดยทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดุแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 ถึง 15
วินาทีหลังเกิด ทารกต้องมีอาการดังนี้มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดีมีกำลังกล้ามเนื้อดี อัตรการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง /นาที
ถ้าทารกมีความผิดปกติจะได้รับการประเมินว่าไม่ตื่นตัวเรียกว่า Nonvigorous
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
.
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า
40 มก/ดลให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
.
แรกเกิด-อายุ 4 ชม.ให้นมภายใน 1 ชม.แรกติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30นาทีหลังให้นมมือแรกกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล.
ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม
อายุ 4-24 ชม. ให้นมทุก 2-3 ชม. ติดตามระดับน้ำ.
ตาลในเลือดก่อนมื อนม ถ้าระดับน าตาลน้อยกว่า
35 มก/ดลให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม.
การดูแล
.
น้ำตาลนเลือดต่ำตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
เสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาลภายใน 1-2 ชม หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.
.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง.
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่นซีดหรือเขียว
หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
ทารกคลอดก่อนกำหนด
.
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
.
มารดามีภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูงรกลอกตัวก่อนกำหนด แท้งคุกคามในไตรมาสแรก
เลือดออกในไตรมาสที่2 หรือ 3 ติดเชื้อในครรภ์
*หัดเยอรมัน
.
ตั้งครรค์แฝด มารดาติดยาเสพติด
เศรษฐานะไม่ดี
มารดาเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35
1.ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุม
อุณภูมิHypothemia T<36.5 องศา
.
ผลกระทบ:เพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรดHypoglycemia Dehydration Poor weight gainNecrotizing enterocolitis;NEC Apnea BleedingDisorder
ภาวะอุณหภูมิกายตา: วินิจฉัยTแกนกลางของทารก <36.5 องศา ,อาการและอาการแสดงใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล่ำ หยุดหายใจหายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น, ภาวะแทรกซ้อนHypoglycemia เลือดเป็นกรดต้องการO2 เพิ่มขึ้นน้ำหนักไม่ขึ้น เลือดออกในโพรงสมอง/ปอด ไตวาย DICPPHN
การวัดอุณหภูมิ:ทางทวารหนัก เกิดก่อนกำหนด วัด 3นาที ลึก 2.5 ซม.ครบกำหนด วัด 3 นาที ลึก 3.0 ซม. ทางรักแร้ เกิดก่อนกำหนด วัด 5 นาที ครบกำหนด วัด 8นาที,
การดูแล:ระวัง Cold stressจัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม NTE 32-34องศาเซลเซียส , Body temperature 36.8-37.2องศาเซลเซียส , Warmer , Incubator , ผ้าห่มห่อตัว
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
.
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4ชม.+ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ในครรภ์ Incubator
"
ตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ / ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ AirServocontrol mode
.
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36องศา
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่ม ขึ้นครั้ง ละ 0.2 องศา ทุก 15-30 นาที
(max38 องศา) *ลดการสูญเสียความร้อน ครอบพลาสติกที่ตัวทารก
ไม่ได้ใช้ตู้อบผนัง 2 ชัน
.
ถ้าวัดอุณหภูมิได้ 36.8-37.2 องศา เป็นเวลา 2ครั้งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutralthermal environment NTE ติดตามอุณหภูมิทุก15-30 นาที 2 ครั้ง และทุก 4 ชม.
ใส่ปรอทสำหรับอุณหภูมิตู้อบ
สวมหมวกไหมพรม หมวกที่หนา 2 ชั้น
พันร่างกายด้วย Plastic wrap
เป้าหมาย:Tทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ 37 องศา (+/-0.2องศา)
ตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ Skin Servocontrol mode
"
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5องศา
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่ม ขึ้นครั้ง ละ 0.1 องศา ทุก 15-30 นาที (max 38 องศา)
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้องหลีกเลี่ยงบริเวรตับและ Body prominence
ถ้าวัดอุณหภูมิได้ 36.8-37.2 องศา เป็นเวลา 2ครั้งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตาม Neutral therma environment NTE ติดตามอุณหภูมิทุกl15-30 นาที 2 ครัhงและทุก 4 ชม.
2.ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
.
Perinatal asphyxia, *RDS;Respiratory DistressSyndrome, AOP;Apnea of Prematurity,BPD;Bronchopulmonary Dysplasia,ROP;Retinopathy of Prematurity
Perinatal asphyxia *Apgar score No asphyxia8-10, Mild asphyxia 5-7, Moderate asphyxia 3-4, Severe asphyxia 0-2
.
Bronchopulmonary Dysplasia;BPD ภาวะที่ไม่สามารถหย่าO2 ได้ เนื่องจากได้รับ O2 เป็นเวลานาน:
Respiratory Distress Syndrome ;RDS
.
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงตัวSurfactant ของถุงลม
อาการและอาการแสดง: หายใจลำบาก Dyspnea
หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/นาที ปากจมูกบาน Retractionหายใจมีเสียง Grunting Cyanosis Ground glassappearance ภาวะเลือดเป็นกรดอาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24ชั่วโมงแรกเกิด
การป้องกัน:
1.มารดาที่มีภาวะเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดและMI อายุครรภ์24-34 สัปดาห์ ควรได้รับ *Antenatal corticosteroidsอย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอดกระตุ้นการสร้างสารลดแรงตึงผิว ปอดสมบูรณ์มากขึ้น มี
2 ชนิด Betamethazone 12 mg. IM ทุก 24 ชม. 2ครังDexamethazone 6mg. IM ทุก 24 ชม. 4ครัง2.ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
.
การรักษา:1.ให้O2 ตามความต้องการของทารก
2.ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับ O2 โดยการปรับลดความเข้มข้น อันตราไหลของภาวะแทรกซ้อน เช่น BPD , ROP
3.ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้นลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
4.รักษาประคับประคองตามอาการ
Apnea of prematurity หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที
.
Central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
Obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบัง
สาเหตุ: Infection, Metabolic disorder, Impaired
oxygenation , Gastroesophageal reflux, CNSproblems (IVH,Seizures) , Drug , Prematurity
การดูแล:1.จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง
เงยคอเล็กน้อย 2.สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็วเขียว ปากจมูกบาน อกบุ๋ม Chest wall retraction , ABG
3.Suction เมื๋อจำเป็น 4.ระวังการสำลัก5.ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครือ่ งช่วยหายใจ
Retinopathy of Prematurity;ROT
.
.
ระยะเวลาการตรวจหา ROP : 1.ตรวจครั้ง แรกเมื่อทารกอายุ
4-6 สัปดาห์ เมื่อทารกอายุครรภ์รวมอายุหลังเกิด 32 สัปดา์ห2.ไม่พบการดำเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
3.ถ้าพบว่ามีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์/ตามแผน
ความผิดปกติ ในทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อย
ลักษณะสำคัญคือ การงอกผิดปกติของเส้นเลือดneovascularization
บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี่ยงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด
.
การวินิจฉัยZone II:จอประสาทตาจากขอบนอกของ Zone I ถึง Nasal ora serrata *Zone III จอประสาทตาจากขอบนอกของZone II ถึง Temporal ora serrata Zone II
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
.
น้ำหนักน้อย แขนขามีขนาดเล็ก ศีรษะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัวกะโหลกศีรษะนุ่ม เปลือกตาบวม ตาปิดตลอดเวลาใบหูอ่อนนิ่มเป็นแผ่นเรียบงอพับได้ง่าย ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่นมองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยมีกล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย Subcutaneous fat หายใจไม่สม่ำเสมอกลั่นหายใจเป็ระยะPeriodic breathing เขียว หยุดหายใจApnea ความตึงตัวของกล้มเนื้อไม่ดี เสียงร้องเบา Reflex ต่างๆมีน้อยหัวนมมีขนาดเล็กหรือมองไม่เห็นหัวนม ท้องป้องกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรงขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
4.ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
.
PDA(Patent Ductus Ateriosus) , Neonatal
Jaundice/Hyperbilirubinemia , Anemia
.
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin: ขนาดที่ให้ 0.1-
0.2 มก/กก ทุก 8 ชม. 3 ครัง ข้อห้ามใช้! BUN > 30m/dl,
Cr >1..8 mg/dl ,Plt.<60,000 /mm3 , urine <0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr. , NEC
รักษา PDA โดยใช้ยา Ibuprofen: ช่วยยับยั้ง การสร้าง
Prostaglandin จะทำให้ PDA ปด ให้ทุก 12-24 ชม.
จำนวน 3-4 ครั้ง *ภาวะแทรกซ้อนNEC,ไตวาย ไม่ให้ยา Cr. 1.6 mg/dl , BUN>20mg/dl
5.ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
.
IVH;Intraventricular Hemorrhage
Hydrocepphalus
6.ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
.
Hypoglycemia , NEC;Necrotizing Enterocolitis GER;Gastroesophageal Reflux,
การพยาบาล:1.ให้อาหารอย่างเหมาะสม 2.Gavage feeding;OG tube
ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูด กลืนไม่ดี 3.IVF 4.ระวัง NEC / Observe
อาการท้องอืด Content 5.ชั่ง
น้ำหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30 g.)
7.ปัญหาพัฒนากรล่าช้า
Skin to skin contact
Eye to eye contact
3.ปัญหาการติดเชื้อ
.
Sepsis
NEC (Necrotizing Enterocolittis)
การพยาบาล:1.NPO 2.ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
3.แยกจากเด็กติดเชื้อ/แยกผู้ดูแล 3.ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ4.ให้การพยาบาล Aseptic technique
5.เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ , ลำไส้ทะลุ
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน , ได้รับอาหารไม่เหมาะสม
เร็วเกินไป , ลำไส้ขาดเลือดมาเลี่ยง , การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
.
.
3.การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ-1-2วันแรกหลังเกิดให้งดน้ำและนมให้สารน้ำและสารอาหารทางIV -ดูแลการให้อาหารทางปากตามแผนการรักษาของแพทย์ -การให้นมส่งเสริมให้ได้รับนมมารดาให้มากที่สุดประเมินความสามารถในการรับนมได้ของทารก -ดูแลให้ได้รับHyperalimentation / Total parenteral Nutrition;TPN -ชั่งน้ำหนักทุกวัน
.
4.ป้องกันการติดเชื้อ-ล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรคก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้งเครื่องมือ/สิ่ง ของที่ใช้ต้องผ่านการทำร้ายเชื้อโรคดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่ง แวดล้อม มีปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้ติดเชื้อ ทำ Septic work up-ติดตามผลและสังเกตอาการ ให้ยาปฏิชีวนะ
2.การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับ O2อย่างเพียงพอประเมินการหายใจ อันตรา Retraction -ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งดูดเสมหะ,จัดท่าให้คอตรงไม่ก้ม/เงยเกินไป -กลั่นหายใจหลีกเลี่ยงการจับทารกเกินความจำเป็นOver handling
.
5.การป้องกันการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ-ดูแลให้ได้รับน้ำนมทางปาก / สารน้ำสารอาหารทางIV -แก้ไข/ป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มี Hypoglycemia -ติดตามผล Dextrostix/Blood sugar
.
1.การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ(36.8-37.2) -จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมทีามีTที่ทำให้ทารกใช้O2และสารอาหารน้อยที่สุด NTE เช่น Incubator , Radiant
heat warmer -ป้องกันการสูญเสียความร้อนทั้ง 4ทางประเมินTตามอาการของทารกและสังเกตอาการทางคลินิกHypothermia , Hyperthermia
8.การป้องกันการเกิดการแตกทำลายของผิวหนัง-
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์กับทารกเกินความจำเป็นแกะพลาสเตอร์/เทปออกจากผิวหนังอย่างระมัดระวังและสังเกตอาการแพ้/การแตกของผิวหนัง
6.การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง-ฉีด Vit K1
เข้าIM ตามแผนการรักษา -หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อถ้าจำเป็นควรใช้เข็มที่คม *หลังฉีดยา/off IV.fluid กดไว้นานๆ ดูแลให้ได้รับ Vit.E , FeSO4 ทางปาก
7.การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำกรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ให้เพียงพอตามแผนการรักษา จดบันทึก Intake และ Output ติดตามผล Blood gas BUN electrolyte urine specific gravityสังเกตอาการและอาการแสดงภาวะไม่สมดุลของน้ำ กรด-ด่างและอิเลคโทรลัยต์
9.การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity;ROP -
ดูแลให้ได้รับO2เท่าที่จำเป็น -ทารกที่ได้รับ O2 ควรใช้ pulseoximeter ติดตาม O2 saturation ตลอดเวลาดูแลให้ได้รับยาวิตามินเค ตรวจหาภาวะ ROD
10.การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
11.การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด
Developmental care-การจัดท่า หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขาพยายามให้อยู่ใในท่าแขนขางอเข้าหากลางลำตัว -จับต้องทารกเท่าที่จำเป็น
12.ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารกBonding,Attachment-
ส่งเสริม,กระตุ้นให้มารดาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด
612001006กมลชนก ทองมาก เลขที่6 รุ่น36/1