Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
2 วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวิจัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค
3 วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์สำเร็จรูป
1 วัตถุที่วางไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
4 วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ประเภทของเหลว
2.1 ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละละายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาจิบ
ยาหยอดจมูก
ยาน้ำเชื่อม
ยาหยอดหู
ยาน้ำใส
ยาสวนล้าง
น้ำปรุง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาสปริริต
ยาโคโลเดียน
ยาอิลิกเซอร์
ยากลีเซอริน
ยาถูนวด
ยาป้าย
2.2 ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์
มิกซ์เจอร์
โลชั่น
อิมัลชั่น
เจล
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง solid form
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม ( Lozenge ) และ ( Troche )
ยาอมใต้ลิ้น ( Sublingual )
ยาผงเดือดฟู่ ( Effervescent poder )
ยาเม็ด ( Tablet )
ยาผง ( Pulveres หรือ power )
ยาแคปซูล ( Capsule )
ยาเหน็บ ( Suppositories)
ประเภทอื่นๆ เช่น
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ยาดม
ข้อดี ข้อเสียของการใช้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
4 ยาชนิดฉีดเข้าชั้้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี ยาถูกดูดซึมได้ดีและระคายเคืองน้อ สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายในน้ำมัน
ข้อเสีย ให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
5 ยาพ่นฝอย ยาแอโรซอล สูดดม และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี ยาออกฤทธิ์เร็วและสามารถให้ยาได้ด้วยตัวเอง ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย วิธีการให้ยาไม่สะดวก ปริมาณไม่แน่นอน ระคายเคือง อาจเกิดการติดเชื้อ
3 ยาชนิดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆ ให้ยาแแกฤทธิ์ได้นานเพียงพอ
ข้อเสีย ยาบางชนิดระคายเคือง ให้ยาไม่เกืน 2 มิลลิลิตร ราคาแพง เกิดแผลหรือฝีได เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
6 ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ข้อเสีย ยาบางชนิดรสชาติไม่ดี ระคายเคือง ใช้เวลานาน ไม่สะดวกในการพูด
2 ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคือง ใช้ในรายที่หมดสติหรืออาเจียนได้ เหมาะกับการให้สารน้ำ
ข้อเสีย เกิดพิษง่าย ติดเชื้อง่าย เกิด embolism
7 ยาเหน็บ
ข้อดี เหมาะกับเด็กหรือผู้ที่รับประทานยายาก
ข้อเสีย ไม่สะดวกต่อการใช้ ราคาแพง อาจเกิดการติดเชื้อ
1 ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี สะดวก ปลอดภัย หากเกิดอันตรายไม่รุนแรง
ข้อเสีย กลิ่น สีอาจไม่ชวนรับประทาน ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ถูกทำลายโดยกรดและน้ำย่อย
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไลการออกฤทธิ์ของยาเภสัชพลศาสตร์
1 ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
2 ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
Agonist
Antagonist
ตัวรับ Receptor
ฮอร์โมน
ออตาคอยด์
สารสื่อประสาท
ไซโตไคส
Partial agonist
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy หมายถึง ความสามรถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency หมายถึง ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity คือ ความสามรถของยาในการเข้าจับการ receptor
เภสัชพลศาสตร์
โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับ
การจับของยา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
ระดับความปลอดภัยของยา
ทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง
หนูแรท
หนูเมาส์
เป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50% ต่อขนาดยาที่ได้ผลในการรักษา 50%
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
1.1 เภสัชจลนศาสตร์
1.3 การแปลสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
1 เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
อยู่ที่ไซโตพลาสม่า
ในร่างกายมี enzyme หลายชนิด
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
1 enzyme
2 ยาหรือ metabolite
2 ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolite
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
การแปลสภาพมีความสำคัญ2ประการ
1 กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
2 สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
3 ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolite
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซน์
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยัยั้งเอนไซน์
4 ปฏิกิริยาระหว่างยากับสารในร่างกาย
ยาที่เกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าอาจทำให้ endogenous substrates ในร่างกายหมดไป
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ จะส่งผลกระทบต่อการ metabolite ยาต่างๆในร่างกาย
ตับอักเสบ
ตับแข็ง
โรคมะเร็งตับ
สารตั้งต้นที่พบในร่างกาย
glutathione
glucuronic acid
การขับถ่ายยา Drug excretion
สามารถกำจัดยาออกได้ทาง
น้ำดี
ปอด
ตับ
น้ำนม
ไต
เหงื่อย
1.2 การกระจายตัวของยา
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่นๆ
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสม่า
Onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาออกฤทธิ์ที่ต้องการ
ค่าครึ่งชีวิต ( Half life )
Duration of action ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
2 วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
3 ขนาดยาที่ให้
1 ขนาดโมเลกุลของยา
4 คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
2 พยาธิสภาพของร่างกาย
3 สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
1 วิธีการบริหารยา
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาปฏิชีวนะ
ยาแก้คัน
ยาชา
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
การให้ยาดูดซึมผ่านผิวหนัง
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำ
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
1 ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
2 ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
4 การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
การปลผันของการตอบสนองต่อยา
4 Hypersensitivity หรือ Allergic reaction การแพ้ยาจากที่ร่างกายมี antibody
5 Tolerance เป็นการดื้อยาหรือทนฤทธิ์ยา
3 Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
6 Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้เร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3 ครั้ง
2 Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
7 Placebo effect ฤทธิ์หลอก
1 Idiosyncrasy การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติ
สาเหตุการตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน อาจเกิดจาก
2 มีความแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands
3 มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของ receptor
1 มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณยาที่จะไปถึง receptor
4 มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะที่เกิดการตอบสนองจากการกระตุ้น receptor
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
แหล่งกำเนิดยา
1 จากธรรมชาติ
จากสัตว์
ตับอ่อน
ดีวัว
ตับ
จากแร่ธาติ
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
ไอโอดิน
จากพืช
ใบ
ลำต้น
ราก
ผล
เมล็ด
เปลือก
2 จากการสังเคราะห์
ใช้บำรุงโลหิต
อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์
เกลือของเหล็ก
ใช้ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
การเรียกชื่อยา
2 เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
ยาแก้ปวดลดไข้
ยาถ่าย
ยานอนหลับ
3 เรียกชื่อตามการค้า
ตั้งชื่อยาให้น่าสนใจ
จำง่าย
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตตั้ง
1 เรียกชื่อตามสูตรเคมี
ประเภทของยา
1 ยารักษาโรคปัจจุบัน
4 ยาควบคุมพิเศษ
5 ยาใช้ภายนอก
3 ยาอันอตราย
6 ยาใช้เฉพาะที่
2 ยาแผนโบราณ
7 ยาสามัญประจำบ้าน
1 ยาแผนปัจจุบัน
8 ยาบรรจุเสร็จ
9 ยาสมุนไพร
2 แบ่งตามเภสัชตำรา
2 ประโยชน์ในการรักษา
3 กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1 ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายภาค
4 แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา
ความหมายของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลต้องมีคุณธรรมโดย
การตั้งใจปฎิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด
ให้เกิดผลที่พึงประสงค์แก่ผู้ป่วย
การให้ยา
พยาบาลจะสามารถให้ยาต่อเมื่อ
แพทย์มีคำสั่งการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น
นักศึกษาพยาบาล
พยาบาลประจำ
การผดุงครรภ์
อาจารย์พยาบาล