Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยา
อัตรา และปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่ร่างกาย
Bioavailabity
สัดส่วนองยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติที่ละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน เช่น แอสไพริน
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน เช่น มอร์ฟิน
ข้อเสียการให้ยาผ่านทางเดินอาหาร ได้แก่ การเกิด first psat effect คือ ปริมาณที่ถูกเปลี่ยนครั้งแรกที่ตับ
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง
การให้ยาเหน็บทวารหรือช่องคลอด
การกระจายตัวของยา
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
การจับตัวของยากับโปรตีนและพลาสม่า
ความสามรถในการผ่านเ้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
คุญสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ
ในร่างกายมี enzyme หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปลสภาพของยา
ปฎิกิริยาการเปลี่ยนแปลงของยา
phase 1 reaction=enzym
phace 2 reaction=ยา หรือ metabolite
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
การออกฤทธิ์ทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
การจับของยากับreceptor
การตอยสนองของร่างกายต่อยา
กลไกลการออกฤทธิ์
แบบไม่จับกับ พำแำยะนพ
แบบจับกับ receptor
แบ่งเป็น
Agonist
Antagonist
receptor
partial agonist
ความสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy
ความสามารถสูงสุดในการออกฤทธิ์ของยา
Potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity
ความสามารถของยาในการจับกับ receptor
การขับถ่ายยา
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย
รูปแบบ
ทางตับ
น้ำดี
ทางไต
ทางปอด
ทางน้ำนม
ทางเหงื่อ
ความสำคัญทางเภสัชศาสตร์
Loading dose
ขนาดของยาที่ให้ในครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
onset
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มให้ยาจนยาออกฤทธิ์
ค่าครึ่งชีวิต
เวลาที่ทำให้ยาหรือความเข้มข้นของยาลดเหลือครึ่งนึง
duration of action
ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์จนหมดฤทธิ์
การออกฤทธิ์ทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
การจับของยากับreceptor
การตอยสนองของร่างกายต่อยา
กลไกลการออกฤทธิ์
แบบจับกับ receptor
แบบไม่จับกับ receptor
แบ่งเป็น
Agonist
ทำให้เกิดฤทธิ์ยา
Antagonist
ลดหรือบดบังฤทธิ์ยา
receptor
ตัวรับยา
partial agonist
ยาออกฤทธิ์บางส่วน
ความสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy
ความสามารถสูงสุดในการออกฤทธิ์ของยา
Potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity
ความสามารถของยาในการจับกับ receptor
ความปลอดภัยของยา
ใช้สูตร TI=LD50/ED50
ถ้าค่าต่ำ คือ ปลอดภัยต่ำ
ถ้าค่าสูง คือ มีความปลอดภัยสูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Tolerance
การดื้อยา
Hyperactivity
ตอยสนองมากกว่าปกติ
Tachyphylaxis
การดื้อยาแบบรวดเร็ว
Hyporeactivity
ตอบสนองน้อยกว่าปกติ
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก
Idiosyncrasy
การตอบสนองของร่างกายที่ผิดปกติ