Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
2.2 อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกายเป็นระดับความร้อนของร่างกายซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้างความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
-
-
-
-
การประเมินอุณหภูมิของร่างกายมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบอุณหภูมิของร่างกาย หรือตรวจสอบการมีทวารหนักในเด็กทารก
-
-
-
-
-
-
2.3 ชีพจร
-
2.3.2 การประเมินชีพจร
การคลําชีพจรนิยมคลําตามตําแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้างๆกระดูกและมักเรียกชื่อชีพจรตามตําแหน่งของหลอดเลือดที่จับได้มีดังนี้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
(3) พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบาๆตรงRadialartery ของผู้ป่วยทําให้รู้สึกถึงการหดตัว และขยายตัวของหลอดเลือด
(4)ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที สิ่งที่ต้องสังเกต คือ อัตรา (จํานวน/ต่อนาที)จังหวะ การเต้นมีความสม่ําเสมอและปริมาตรความแรง (เบาหรือแรง)
(5)การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจแทนการคลําชีพจร เพราะในเด็กเล็กคลําชีพจรได้ไม่ชัดเจน
-
-
ข้อควรจําในการวัดชีพจร
-
-
(1)พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
2.4 การหายใจ
-
2.4.2 การประเมินการหายใจ
-
2) วิธีการปฏิบัติ
(4)นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจ ในผู้ใหญ่ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
-
(3)เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากําลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
-
-
-
-
-
-