Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, ธีระ ทองสง.(2559).Hydrocephalus.สืบค้นเมื่อ…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ปัญหาที่พบ
เลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra-ventricular Hemorrhage)าวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle)
Hydrocephalus ภาวะที่ CSF คั่งในกระโหลกมากผิดปกติ ร่วมกับการมีความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นด้วย
การพยาบาล
โภชนาการและการดูดกลืน
Hypoglycemia ภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อระดับน้ำตาลในเลือดลดลงในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg% และประเมินอาการมีสั่นระรัวของมือและเท้า (Prolonged tremor) ซึม กลั่นหายใจ เขียว ชักเกร็ง
NEC (Necrotizing Enterocolitis) อักเสบของลำไส้เล็กส่วน ileum และมีการทะลุ
GER (Gastroesophageal Reflux) ภาวะที่น้ำย่อย หรืออาหารจากกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในหลอดอาหาร
การพยาบาล NPO 1-2 วันแรกหลังคลอด ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชั่งน้ำหนักทุกวัน อาการดีขึ้นสามารถรับนมได้ 130 แคลอรี่ / กก. / วัน หากแคลอรี่
พัฒนาการล้าช้า
พยายามให้ทารกอยู่ในท่าแขน ขางอเข้าหากลางล้าตัว (flexion)พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล มองสบตา หรือให้ทารกจับนิ้วมือ
ระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
ใช้ยา ibuprofen ยับยั้งการสร้างprostaglandin
ยา Indomethacin ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
Neonatal Jaundice
สาเหตุ
มีการทำลายเม็ดเลือดแดง จากหมู่เลือดของแม่กับลูกไม่เท่ากัน, G6PD deficiency, มีเลือดออกในร่างกาย, โรคธาลัสซีเมีย
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ ถ้าสูงมากเกิดภาวะKernicterrus ทำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy) การพยาบาล ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา ทำความสะอาดตาทุกวัน เปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชม.เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง บันทึก v/s ทุก 2-4 ชม. อาจมีถ่ายเหลวสีเขียวปนเหลือง
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion) ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ สังเกตภาวะแทรกซ้อน v/s ทุก 15นาที 30 นาที จนปกติ
Anemia
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
Eye to eye contact
Skin to skin contact
MAS
การพยาบาลได้รับออกซิเจนเพียงพอ ติดตามอาการหายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการติดเชื้อ
meconium aspiration syndrome การสูดสำลักขี้เทาในทารกแรกเกิด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
ทารกอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
รูปร่างแขนขามีขนาดเล็ก
เสียงร้องเบา หายใจไม่สม่ำเสมอ
ปัญหาที่พบ
อุณหภูมิ
การพยาบาล •ให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศา ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
อุณหภูมิ < 36.5 องศาเซลเซียส เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น ไขมันใต้ผิวหนังมีน้อย
•ต่อมเหงื่อไม่เจริญจึงระบายความร้อนออกทางผิวหนังไม่ได้ มีอุณหภูมิ ร่างกายต่ำมากๆ "Cold stress" เกิดภาวะแทรกซ้อน Hypoxia, Hypoglycemia, Metabolic acidosis, PFC เป็นต้น
ระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
RDS
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม RR > 60 ครั้ง/ นาที ปีกจมูกบาน ฃดึงรัังของกล้ามเนื้อทรวงอก อาการเขียว
การรักษา การให้ออกซิเจน ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
(Respiratory Distress Syndrome)
AOP
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
การดูแล นอนศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย •สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม (chest wall retraction) , ABG
(Apnea of Prematurity)
ROP
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดระหว่างจอประสาทตา ตรวจงเมื่ออายุ 4 – 6 สัปดาห์
(Retinopathy of Prematurity)
BPD
ปอดเรื้อรังในเด็ก ไอทักวันอย่างน้อย 3 เดือน ปอดอักเสบมากกว่า 1 ครั้งใน2ปี มี wheezing นาน 7วันต่อเดือน
(Bronchopulmonary Dysplasia)
การพยาบาล ประเมินการหายใจ ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ถ้ากลั้นหายใจ เขี่ยเขย่าใบหน้า ลำตัวเพื่อกระตุ้น รับยา Theophylline เพื่อลดภาวะApnea
การติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
มาจากการพร่องออกซิเจน รับอาหารไม่เหมาะสม/เร็วเกิน ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การพยาบาล ให้NPO ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก แยกเด็ก ระวังลำไส้ทะลุ
Sepsis การสร้าง IgM ไม่สมบรูณ์ รับ IgG จากมารดาน้อย ไม่ได้รับ IgA จากนมมารดา
การพยาบาล ล้างมือก่อน/หลังการพยาบาลทุกครั้ง ดูแลความสะอาดร่างกาย ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ธีระ ทองสง.(2559).Hydrocephalus.สืบค้นเมื่อ 29 มิ.ย. 63,สืบค้นจาก
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=49:hydrocephalus&catid=43&Itemid=386