Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลเด็กที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องและภาวะภูมิไวเกิน,…
การใช้กระบวนการพยาบาลเด็กที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องและภาวะภูมิไวเกิน
โรคภูมิแพ้(Allergy)
ปัจจัยเสี่ยง : พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม อาหาร
อาการและอาการแสดง
ตาบวม คันตา น้ำตาไหล
น้ำมูกไหล คัดจมูก จาม
โรคหอบหืด
ท้องเสีย อาหารเป็นพิษ
ผิวหนัง : อาการลมพิษ ผื่นแพ้ผิวหนัง กลาก ผิวแห้ง
จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis)
ปัจจัยการก่อภูมิแพ้ : ไรฝุ่น เชื้อรา แมลงสาบ ละอองเกสร
อาการ : จาม คัดจมูก มีน้ำมูกใสสลับข้น ขอบตาบวม
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
(Atopic Dermatitis)
มักเกิดในเด็กอายุ<5ปี
อาการ : คันตามผิวหนัง ผื่นแดง ผิวหนังแห้ง ลอกและเป็นขุยร่วมด้วย มักปรากฎบริเวณมือ เท้า ข้อพับ ใบหน้าและศีรษะ
Food allergy
IgE Mediated Food Allergy
เป็นการเกิดแพ้อาหารโดยที่โปรตีนของอาหารเมื่อผ่านผนังลำไส้
Non IgE Mediated Food Allergy
อาหารทำให้เกิดลำไส้อักเสบ Food induced Enterocolitis
อาหารทำให้เกิดทวารหนักอักเสบ Food induced Proctitis
อาหารทำให้การดูดซึมของลำไส้ผิดปกติ Food induced Enteropathy
Celiac Disease เป็นการแพ้สารอาหารที่เรียกว่า gluten
Food Intolerance เช่น ปวดท้องหลังทานอาหารเผ็ด
โรคแพ้โปรตีนในนมวัว
อาการทางผิวหนัง : ทั้งแบบผื่นลมพิษ โดยจะเป็นผื่นแดง คัน ทั้งตัวหรือเป็นบางส่วนของร่างกาย
อาการทางเดินหายใจ : คัดจมูกเรื้อรัง น้ำมูกไหลเรื้อรัง มีเสมหะในลำคอหรือหลอดลม จนกระทั่งเป็นปอดอักเสบก็ได้
อาการทางเดินอาหาร: อาการสำรอกนมหรืออาเจียนบ่อย ร้องกวนโคลิกทุกคืน ถ่ายเหลวเรื้อรัง หรือแม้กระทั่งท้องผูกรุนแรง
Anaphylaxis
ปรากฏอาการหลังสัมผัสหรือได้รับสารกระตุ้น ตั้งแต่ 5 นาที ถึงหลายชั่วโมง ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ ความไวต่อสารกระตุ้น ,ปริมาณ,ช่องมทางที่รับ,ชนิดของการแพ้
อาการที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน : ลมพิษขึ้นทั่วตัว คัน ผื่นแดง ร่วมกับอาการร่วมระบบทางเดินหายใจ ความดันโลหิตลดลง
การพยาบาล
การให้ออกซิเจน
การจัดท่านอน
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้ vasopressor agents
Autoimmune Disorders
Systemic Lupus Erythematosus : SLE
อาการและอาการแสดง
ผมร่วง ผื่นแดง เปื่อย
ปวดข้อ ซีด ไวต่อแสงแดด
อ่อนล้า ไตอักเสบ ชัก
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย ได้แก่ การมองเห็นเปลี่ยนไป CVA เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ โรคลิ้นหัวใจ อาการชัก อาการทางจิต
การพยาบาล
ได้รับอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
การออกกำลังกายที่เหมาะสม
นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ได้รับยาตามแผนการรักษา
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
(Immune Deficiency)
primary (<10%)
สัญญาณเตือนอาการ
ติดเชื้อที่หู มากกว่า4ครั้ง/ปี
ไซนัสมากกว่า2ครั้ง/ปี
ได้รับantibiotic มากกว่า 2 ครั้ง/เดือน
pneumonia >2ครั้ง/ปี
Secondary(90%)
B and T-Cell Deficiencies
B-Cell Deficiencies
Recurrent bacterial infection
T-Cell Deficiencies
severe viral, fungal,และ protozoal infection
DiGeorge
Syndrome ความผิดปกติของรูปหน้า อวัยวะต่างและความผิดปกติทางภูมิคุ้มกัน ปากแหว่งเพดานโหว่ กรามเล็ก
Severe combined immunodeficiency (SCID)
ความผิดปกติทั้งB-T cell เริ่มมีการติดเชื้อในเด็กทารกตั้งแต่ก่อนอายุ 6 เดือน รักษาโดยการปลูกเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
Children with HIV infection & AIDS
AIDS
โรคเอดส์เป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อเอชไอวี เอชไอวีซึ่งย่อมาจากคำว่า human immunodeficiency virus เป็นเชื้อไวรัส
HIV มี 3 ระยะ
1.ระยะปฐมภูมิ เชื้อไวรัสกระจายทั่วร่างกาย ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ภายใน2-4สัปดาห์ อาการระยะนี้ได้แก่ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย คล้ายคลึงกับอาการของโรคไข้หวัดใหญ่
2.ระยะติดเชื้อเรื้อรัง เชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่มนร่างกาย โดยอาจไม่แสดงอาการใดๆ ไม่รุนแรงมาก ระยะนี้กินเวลา 7- 10 ปี
3.ระยะโรคเอดส์ ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระเหลวประจำ มีการติดเชื้อฉวบโอกาสในอวัยวะต่างๆเช่น ปอด อาการทางสมอง มีไข้เรื้อรังนานๆ อ่อนเพลียมาก น้ำหนักตัวลด เป็นระยะสุดท้าย จะมีชีวิตอยู่ได้เพียง1-2ปีเท่านั้น
ติดเชื้อเอชไอวีโดยการสัมผัสกับเลือด น้ำอสุจิ ของเหลวจากช่องคลอด หรือน้ำนมแม่ สาเหตุการแพร่เชื้อส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์และการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกระหว่างการตั้งครรภ์
การดูแลเด็กที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ HIV ในห้องคลอด
Routine care
ใส่ถุงมือทุกครั้งเมื่อจับตัวทารกที่เปื้อนเลือดและสิ่งคัดหลั่ง
เช็ดตัวทารกทันที
หลีกเลี่ยงการใส่สาย NG โดยไม่จำเป็น
ให้นมผสม งดนมแม่
เริ่มให้ยา
ให้ vitamin K, BCG, HBV ได้
การดูแลเด็กที่ติดเชื้อ HIV
ดูแลสุขภาพทั่วไปให้มีสุขอนามัยที่ดี
ให้อาหารที่สะอาดเพียงพอ ครบทุกหมู่ ระวังอาหารหวาน และการคานมขวดจนหลับ เพราะมักเป็นสาเหตุของภาวะฟันผุอย่างแรงได้ แนะนำให้ดื่มน้ำสุก
ไม่ให้เลี้ยงสัตว์เลี้ยงที่ต้องมีการสัมผัส เช่น สุนัข แมว
ส่งเสริมให้ออกกำลังกาย และมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ไปโรงเรียนตามปกติ ต้องหลีกเลี่ยงภาวะที่ต้องมีการกระทบกระแทกมีเลือดออก
การฝึกระเบียบวินัย เพราะต้องกินยาอย่างเคร่งครัด ตรงเวลาตลอดชีวิต
ทำให้เด็กมีชีวิตใกล้เคียงกับเด็กปกติมากที่สุด
เตรียมเด็กก่อนเข้าสู่วัยรุ่น การมีเพศสัมพันธ์
นางสาวพัณณิตา แก้วพัฒน์ เลขที่ 42